กาลามสูตรเป็นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวาง ไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน

The Kalama Sutta states (Pali expression in parentheses):
1. Do not go upon what has been acquired by repeated hearing (anussava),
2. nor upon tradition (paramparā),
3. nor upon rumor (itikirā),
4. nor upon what is in a scripture (piṭaka-sampadāna)
5. nor upon surmise (takka-hetu),
6. nor upon an axiom (naya-hetu),
7. nor upon specious reasoning (ākāra-parivitakka),
8. nor upon a bias towards a notion that has been pondered over (diṭṭhi-nijjhān-akkh-antiyā),
9. nor upon another's seeming ability (bhabba-rūpatāya),
10. nor upon the consideration, The monk is our teacher (samaṇo no garū)
………………
佛陀并为此总结了十准则:
一、勿信风说;
二、勿信传说;
三、勿信臆说;
四、勿信于藏经之教相合之说;
五、勿信基于寻思者;
六、勿信基于理趣者;
七、勿信熟虑于因相者;
八、勿信审虑忍许之见相合;
九、说者虽堪能亦勿予信;
十、虽说此沙门是我之师亦勿予信之。
………………

นิทรรศการ เอหิปัสสิโก ชี้แจงเรื่องเขาใจผิดเกี่ยวกับ
วัดพระธรรมกาย
หมวดรู้ทันการใส่ร้ายป้ายสีในโซเชียล
จัดไว้ที่ใต้อาคารร้อยปีคุณยาย
และที่สภาธรรมกายสากล เสา m24 
วัดพระธรรมกายนะครับ

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

null

กา ลามสูตร คือ พระสูตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมู่บ้านเกสปุตตนิคม แคว้นโกศล (เรียกอีกอย่างว่า เกสปุตตสูตร ก็มี[1]) กาลามสูตรเป็นหลักแห่งความเชื่อที่พระพุทธองค์ทรงวาง ไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน ไม่ให้เชื่อสิ่งใด ๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริงถึงคุณโทษหรือดีไม่ดีก่อนเชื่อ มีอยู่ 10 ประการ ได้แก่
1. มา อนุสฺสวเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการฟังตามๆ กันมา
2. มา ปรมฺปราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการถือสืบๆ กันมา
3. มา อิติกิราย - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเล่าลือ
4. มา ปิฏกสมฺปทาเนน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการอ้างตำราหรือคัมภีร์
5. มา ตกฺกเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเดาว่าเป็นเหตุผลกัน
6. มา นยเหตุ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะการอนุมานคาดคะเน
7. มา อาการปริวิตกฺเกน - อย่าปลงใจเชื่อ ด้วยการเดาจากอาการที่เห็น
8. มา ทิฎฐินิชฺฌานกฺขนฺติยา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว
9. มา ภพฺพรูปตา - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะผู้พูดมีลักษณะน่าเชื่อถือ
10. มา สมโณ โน ครูติ - อย่าปลงใจเชื่อ เพราะนับถือว่า ท่านสมณะนี้ เป็นครูของเรา
เมื่อ ใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นอกุศลหรือมีโทษเมื่อนั้นพึงละเสีย และเมื่อใดสอบสวนจนรู้ได้ด้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านั้นเป็นกุศลหรือไม่มีโทษ เมื่อนั้นพึงถือปฏิบัติ

Cr...Venerable Suchin Suchino

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘