บทความ

พระสวดให้พร

หลังจากที่ทำบุญใส่บาตรแล้ว   เรามักจะได้ยินพระ สวดให้พรว่า "อะภิวาทะนะสีลิสสะ   นิจจัง   วุฒาปะจายิโน, จัตตาโร   ธัมมาวัฑฒันติ  อายุ   วัณโณ   สุขัง   พลัง," แปลว่า   พรทั้งสี่ประการ  คือ  อายุ   วรรณะ   สุขะ  พะละ  ย่อมเจริญแก่ผู้มีปกติกราบไหว้ และเคารพต่อผู้ใหญ่เป็นนิจ ซึ่งบทสวดนี้  เป็นส่วนหนึ่งของ บทให้พร   ยะถา   สะพี บทยะถา  สะพี   เป็นบทที่พระสงฆ์  สวดให้พร   หลังจากที่ เราทำบุญ  เช่น  ทำบุญถวายสังฆทาน  ทำบุญบังสุกุล  ฯลฯ บทให้พร   ยะถา  สะพี "ยะถา   วาริวหา  ปูรา   ปะริปูเรนติ    สาคะรัง ห้วงน้ำที่เต็มด้วยน้ำ  ย่อมไหลไปสู่สมุทรสาครให้เต็มฉัน ใด เอวะเมวะ   อิโต  ทินนัง   เปตานัง   อุปะกัปปะติ ทานที่ให้แล้วแต่ในโลกนี้    ย่อมสำเร็จแก่ผู้ที่ล่วงลับไป แล้วฉันนั้น อิจฉิตัง   ปัตถิตัง   ตุมหัง   ขิปปะเมวะ   สะมิชฌะตุ ขอสิ่งที่ท่านมุ่งมาดปรารถนาตั้งไว้  จงสำเร็จโดยพลัน ทันที สัพเพ  ปูเรนตุ   สังกัปปาจันโท   ปัญณะระโส   ยะถา มะณิ  โชติระโส  ยะถา ความดำริทั้งปวงของท่าน   จงเต็มบริบูรณ์เหมือนดวง จันทร์ ในวันเพ็ญ 15 ค

กฎอิทัปปัจจยตา: หัวใจปฏิจจสมุปบาท.

อิมสฺมึ สติ อิทํ โหติ เมื่อสิ่งนี้ มี สิ่งนี้ ย่อมมี อิมสฺสุปฺปาทา อิทํ อุปฺปชฺชติ เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น. อิมสฺมึ อสติ อิทํ น โหติ เมื่อสิ่งนี้ ไม่มี สิ่งนี้ ย่อมไม่มี อิมสฺส นิโรธา อิทํ นิรุชฺฌติ เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป. (ม.ม. ๑๓/๓๕๕/๓๗๑, นิทาน. สํ. ๑๖/๘๔/๑๕๔,....)

คำเสียสละของเป็นนิสสัคคีย์

จีวรวรรค สิกขาบทที่ 1 (เกี่ยวกับการเก็บจีวรเกินจำเป็นไว้เกิน 10 วัน) พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือกล่าวอย่างนี้ว่า “อิทัง เม ภันเต (อาุวุโส) จีวะรัง ทะสาหาติกกันตัง นิสสัคคิยัง อิมาหัง อายัส๎ัมะโต นิสสัชชามิ.” “ท่านเจ้าข้า จีวรผืนนี้ของข้าพเจ้าล่วง 10 วัน เป็นของจำจะเสียสละ ข้าพเจ้าสละจีวรผืนนี้แก่ท่าน.” ถ้าสละตั้งแต่ 2 ผืนขึ้นไป พึงว่ารวมกัน ดังนี้ “อิมานิ เม ภันเต (อาวุโส) จีวะรานิ ทะสาหาติกกันตานิ นิสสัคคิยานิ อิมานาหัง อายัส๎ัมะโต นิสสัชชามิ.” “ท่านเจ้าข้า จีวรเหล่านี้ของข้าพเจ้าล่วง 10 วัน เป็นของจำจะเสียสละ ข้าพเจ้าสละจีวรเหล่านี้แก่ท่าน.” ครั้นสละแล้วพึงแสดงอาบัติ ภิกษุผู้รับเสียสละนั้นพึงรับอาบัติ พึงคืนจีวรที่เสียสละให้ด้วยคำว่า คำคืนจีวร จีวรผืนเดียว พึงว่า “อิมัง จีวะรัง อายัส๎มะโต ทัมมิ.” จีวรหลายผืน พึงว่า “อิมานิ จีวะรานิ อายัส๎ัมะโต ทิมมิ.” จีวรวรรค สิกขาบทที่ 2 (เกี่ยวกับอยู่ปราศจากไตรจีวร แม้ราตรีหนึ่ง) พึงเข้าไปหาภิกษุรูปหนึ่ง ห่มผ้าอุตตราสงค์เฉวียงบ่า นั่งกระโหย่ง ประนมมือกล่าวอย่างนี้ว่า

บทเรียนจากสามก๊ก

บทเรียนจากสามก๊ก มีเพื่อนส่งข้อความมาให้ในไลน์ เขาบอกว่าเป็นบทเรียนจากสามก๊ก จริงเท็จแค่ไหนไม่รู้ได้ เพราะอ่านสามก๊กตั้งแต่อายุยังไม่ถึง 20 ปัจจุบันจะ 69 อยู่แล้ว จึงจำไม่ได้ว่ามีข้อความอย่างที่เขาส่งมาให้นี้อยู่ในสามก๊กหรือเปล่า อย่างไรก็ตาม หากมีอยู่จริงตอนนั้น อายุยังน้อย อ่านข้อความที่ว่านี้ คงไม่สนใจอะไรมากนัก เคยดูรายการโทรทัศน์ที่มีผู้ซึ่งเป็นแฟนพันธุ์แท้ของสามก๊ก อ่านสามก๊กแบบเข้าถึงแก่นทางความคิดและกลยุทธ์ในการต่อสู้ของเหล่าบรรดาตัวละครในสามก๊ก ดูแล้วท่านเหล่านั้นช่างอ่านสามก๊กอย่างลึกซึ้งจริงๆ สามารถวิเคราะห์ความคิดและกลยุทธ์ในการกรำศึกห้ำหั่นกันได้อย่างละเอียด มิน่าล่ะ  มีบางคนบอกว่าใครที่อ่านสามก๊กเกินกว่า 3 จบคบไม่ได้ (ก็ไม่เห็นด้วยกับคำพูดนี้หรอกนะ เพราะคนที่อ่านสามก๊กหลายรอบ แม้จะได้เรียนรู้อะไรมากมาย แต่ถ้าเป็นคนดีก็คงไม่เลียนแบบตัวละครที่คิดชั่ว เหมือนคนอ่านศรีธนญชัย ถ้าหากเขาเป็นคนดี เขาก็คงไม่เจ้าเล่ห์เพทุบายอย่างเลวร้ายแบบศรีธนญชัยหรอกนะ) ข้อความที่เพื่อนส่งมาให้ ไม่ว่าจะเขียนขึ้นมาเองหรือเรื่องนี้มีอยู่ในสามก๊กจริงๆ ต้องยอมรับเลยว่า เนื้อหาแสดงให้เห็นความค

ถอดเล็บ (Nail Avulsion)

รูปภาพ
ถอดเล็บ มีขั้นตอนอย่างไร       ถอดเล็บ (Nail Avulsion)  คือ ขั้นตอนทางการแพทย์ที่แพทย์จะใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อดึงหรือถอดเล็บมือ หรือเล็บเท้าออกมา เนื่องจากปัจจัยทางสุขภาพที่ต้องรักษาให้หาย เช่น การเกิดเล็บขบ เล็บฉีกขาด หรือเล็บบางส่วนหลุดออกจากเนื้อเยื่อฐานเล็บ เพื่อเปิดโอกาสให้เล็บมือหรือเล็บเท้างอกขึ้นมาใหม่ตามกระบวนการทางธรรมชาติ ซึ่งเล็บมักใช้เวลาหลายสัปดาห์ในการงอกขึ้นมาใหม่ แต่ในกระบวนการงอกใหม่ของเล็บไม่ทำให้เกิดความเจ็บปวดแต่อย่างใด ทำไมต้องถอดเล็บ ? การถอดเล็บเป็นหนึ่งในทางเลือกสำคัญสำหรับรักษาอาการเจ็บป่วยบริเวณเล็บ เนื่องจากการรักษาด้วยวิธีอื่น อาจเพิ่มความเสี่ยงให้ผู้ป่วยเจ็บปวดมากขึ้น หรือเล็บอาจผิดรูปไปอย่างถาวร สาเหตุส่วนใหญ่ที่ผู้ป่วยมักต้องเข้ารับการถอดเล็บจากแพทย์ ได้แก่ เล็บขบ   ประสบอุบัติเหตุจนเล็บบางส่วนหลุด หรือฉีกขาด การติดเชื้อบริเวณเล็บหรือเนื้อเยื่อใต้เล็บ เช่น การติดเชื้อรา จนเล็บได้รับความเสียหายมาก และแพทย์ลงความเห็นว่าผู้ป่วยควรถูกถอดเล็บ เล็บหนา อันเนื่องมาจากหลายสาเหตุ เช่น ความผิดปกติแต่กำเนิด ป่วยด้วย โรคสะเก็ดเงิน (Pso

เรื่องที่ออกสอบบาลีสนามหลวง ป.ย.1-2 มคธเป็นไทย 2510-2560

--> เรื่องที่ออกสอบ 2510-2560 1 กาลียักขินี 2 กุณฑลเกสีเถรี 3 กุมภโฆสกะ 4 โกสัมพี 5 โกสัมพี 6 ขทิรวนิยเรวตเถระ 7 ครหทิน 8 จักขุปาลเถระ 9 จิตตหัตถเถระ 10 จุนทสูกริกะ 11 จุลลกาลมหากาล 12 จูฬปันถกเถระ 13 ฉัตตปาณิอุบาสก 14 ชัมพุกาชีวก 15 ทารุจีริยเถระ 16 เทวทัต 17 เทวสหายกภิกขุ 18 ธัมมิกเถระ 19 ธัมมิกอุบาสก 20 นันทโคบาลกะ 21 นันทเถระ 22 บัณฑิตสามเณร 23 ปฏาจารา 24 ปาฏิกาชีวก 25 ปูติคัตตติสสเถระ 26 พหุปุตติกาเถรี 27 เพฬัฏฐสีสเถระ 28 มรีจิกัมมัฏฐานิกเถระ 29 มหากัปปินเถระ 30 มหากัสสปเถรปิณฑปาตทาน 31 มหากัสสปเถระ 32 มัฏฐกุณฑลี 33 ราธเถระ 34 วนวาสีติสสเถระ 35 วิฑูฑภะ 36 วิสาขา 37 สังกิจจสามเณร 38 สัญชัย 39 สามาวดี 40 สารีปุตตเถรสหายพราหมณ์ 41 สารีปุตตเถระ 42 สุธัมมเถระ 43 สุมนมาลาการ 44 สุมนาเทวี 45 โสเรยยเถระ 46 อนัตถปุจฉกพราหมณ์ 47 อนุรุธเถระ 48 อัญญตรปุริสะ 49 อัญญตรภิกขุ 50 อัญญตรภิกขุ 2 51 อานันทเสฏฐิ 52 อายุวัฒนกุมาร

สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ป.ย.1-2 มคธเป็นไทย 2510-2560

ธมฺมปทฏฺฐกถา ภาค 1-4 พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม จบ ปัญหา-เฉลย 2510 1 2 สามาวดี 56-58 มาคนฺทิยา ยมหํ คติ โก อภิสมฺปราโยติ.     2 2 สามาวดี 58-59 สนฺเตตฺถ ภิกฺขเว ญาติคณํ ปกโกสาเปหีติ.   2510 1 1 จุนทสูกริกะ 116-117 อิธ โสจติ เปจฺจ นิรยสนฺตาโป อุปฏฺฐหิ.     2 1 จุนทสูกริกะ 117-119 อวีจิสนฺตาโป นาม ผรุโส สตฺโต ทิฏฺฐปุพฺโพติ.   2511 1 4 อายุวัฒนกุมาร 114-115 สตฺถา ทีฆายุโก สตฺถุ สนฺติกํ อคมาสิ.     2 1 เทวสหายภิกขุ 146-147 พหุมฺปิ เจ สหิตํ น ทุสฺสีลสฺส.   2512 1 2 อัญญตรภิกขุ 111-112 โส วิเสเสตฺวา กโรนฺโต คจฺฉตีติ อตฺโถ.     2 3 ครหทิน 98-99 สตฺถา อนุโมทนํ วิโรจนติ โสภตีติ.   2513 1 3 ครหทิน 91-92 โส ตสฺมึ ทฺวินฺนํ อสุจินา มกฺขยึสูติ.     2 4 สารีปุตตเถระ 67-68 สตฺถา ตํ กถํ นาม น โหนตีติ.   2514 1 2 จูฬปันถกเถระ 79-80 จูฬปนฺถโกปิ สุริยํ วิคตรชสฺส สาสเนติ.     2 3 ชัมพุกาชีวก 152-153 สตฺถา มหาชนสฺส ตปจรนฺโต มหนฺตตรนฺติ.   2515 1 1 จุนทสูกริกะ 116