นาฬิกาชีวิต (BIOLOGICAL CLOCK)

การแพทย์ตะวันออกถือว่า กลางวันและกลางคืนมีความสัมพันธ์กับสุขภาพของมนุษย์อย่างแยก
ไม่ออก โดยมองลึกลงไปอีกว่า ช่วงเวลา 24 ชั่วโมงในหนึ่งวันนั้น ภายในร่างกายของมนุษย์ยังมีการ
ไหลเวียนของพลังชีวิตที่ผ่านอวัยวะภายในของร่างกายซึ่งประกอบด้วย อวัยวะตันและอวัยวะกลวง
อวัยวะตัน หมายถึง หัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด ม้าม ตับ ไต
อวัยวะกลวง หมายถึง กระเพาะอาหาร ถงุ นำ้ ดี ลำไสใ้หญ ่ลำไสเ้ล็กกระเพาะปัสสาวะ ระบบ
ความร้อนของร่างกาย (ชานเจียว)
การไหลเวียนของพลังชีวิต (ลมปราณ) ที่ผ่านแต่ละอวัยวะนั้นจะใช้เวลาสองชั่วโมง ทั้งหมดมี
12 อวัยวะ รวม 24 ชั่วโมง คือ หนึ่งวัน เรียกว่า “นาฬิกาชีวิต”
ตัวอย่างเช่น การไหลเวียนของเสน้ ลมปราณปอด จะมพี ลังไหลเวยี นเริ่มต้นที่เวลา 03.00 น.
และสูงสุดในช่วงประมาณ 04.00 น. จากนนั้ จะคอ่ ย ๆ ลดลง และออกจากเส้นลมปราณปอดไปยังเส้น
ลมปราณลำไส้ใหญ่ เวลา 05.00 น. การรักษาโรคของเส้นลมปราณปอดที่ให้ประสิทธิภาพสูงสุดจึง
ควรอยู่ระหว่างเวลา 0.00-05.00 น. ได้มีการศึกษาวิจัยพบว่า ผลของการใช้ยาตะวันตก คือ ยาดิติตา
ลิสในการรักษาโรคหัวใจล้มเหลว (มีการคั่งของน้ำในปอด) การให้ยาในช่วงเวลา 04.00 น. จะให้ผล
ออกฤทธิ์ประมาณสสี่ บิ เทา่ของการให้เวลาอื่น เปน็ ต้น การเคลื่อนไหวของพลังชีวิตของอวัยวะ
ภายในปีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนและสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเวลา (นาฬิกาชีวิต) ร่างกายเราจึงมีกลไกการ
ปรับตัวมีการสร้างสารคัดหลั่งฮอร์โมน การทำงานของระบบต่างๆ ฯลฯ เป็นไปตามสภาพธรรมชาติที่
เปลี่ยนแปลงไป
การดำเนินชีวิต และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิต ประจำวัน ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
ของธรรมชาติ จึงเป็นหลักฐานของการมีสุขภาพท่ดี ีและมีอายุยืน ปราศจากโรค โดยแบง่ เปน็ ช่วงเวลา
ดังนี้
01.00-03.00 น. เป็นช่วงเวลาของตับ ควรนอนหลับพักผ่อนถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำใน
ช่วงเวลานี้ ตับจะหลั่งสารมีราโทนิน (meratonine) เพื่อฆ่าเชื้อโรค ทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย นอนจาก
ร่างกายจะหลั่งมีราทินประจำแล้ว ยังหลั่งสารเอนโดรฟิน (endorphin) ออกมาด้วยจึงไม่ควรกินอาหาร
เพราะจะทำให้ตับทำงานหนักและเสื่อมเร็ว หน้าที่หลักของตับ คือ ขจัดสารพิษในร่างกาย ส่วนหน้าที่
รอง คือ
1. ช่วยไตในการดูแลผม ขน เล็บ ถ้าตับมีปัญหา ผม ขน เล็บจะไม่สวย
2. ช่วยกระเพาะย่อยอาหาร ถ้ากินบ่อย ๆ จะทำให้ตับทำงานหนักตับจะหลั่งน้ำย่อยออกมามาก
จึงไม่ได้ทำหน้าที่หลัก เป็นเหตุให้สารพิษตกค้างในตับ
03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จงึ ควรตื่นนอนลกุ ขึ้นเพื่อสูดอากาศที่บรสิ ุทธ์ิ และรบั
แสงแดดในยามเชา้ ผ้ทู ตี่ ื่นนอนช่วงนี้เปน็ ประจำปอดจะดีผวิ ดขี นึ้ และจะเปน็ คนท่มี อี ำนาจในตัว
05.00-07.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้ใหญ่ ควรขับถ่ายอุจจาระทำให้เป็นนิสัยทุกเช้า ถ้าไม่
ถ่ายให้ใชวิ้ธีกดจุดท่ตี าํแหน่งสองข้างของจมูกถ้ายังไมถ่ า่ ยให้ดื่มนํ้าอนุ่ 2 แก้ว ถ้ายังไม่ถ่ายให้ดื่ม
น้ำผึ้งผสมมะนาว โดยใช้น้ำ 1 แก้ว + น้ำผึ้ง 1 ช้อนโต๊ะ + น้ำมะนาว 4-5 ลูก ทำดื่มจนกว่าจะถ่ายหรือ
บริหารโดยยืนตรง หายใจเข้าแล้วก้มลงพร้อมทั้งหายใจออก เอามือท้าวเข่าแขม่วท้องจนเหมือนว่า
หน้าท้องไปติดสันหลัง
07.00-09.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารจะทำงาน ถ้ากินอาหารเช้า
ในช่วงเวลานี้ทุกวัน กระเพาะอาหารจะแข็งแรง ถ้าปล่อยให้กระเพาะอาหารอ่อนแอ จะส่งผลให้เป็นคน
ตัดสนิ ใจชา้ ชี้กังวล ขาไมค่ ่อยมีแรง ปวดเขา่ หน้าแก่เร็วกว่าวัย

09.00-11.00 น. เป็นช่วงเวลาของม้าม ม้ามจะอยู่ชายโครงด้านซ้าย มีหน้าที่ควบคุมเม็ดเลือด
สรา้ งนำ้ เหลือง ควบคมุ ไขมนั คนทปี่ วดศีรษะบ่อยมกั มาจากความผิดปกตขิ องม้าม อาการเจ็บชายโครง
สาเหตุมาจากม้ามกับตับ
- ม้ามโต ม้ามจะไปเบียดปอด ทำใหเ้หนอื่ ยง่าย ผอมเหลือง ตาเหลือง สรา้ งเมด็ เลือดขาวไดน้ ้อย
- ม้ามชื้น อาหารและนํ้าท่กี ินเขา้ ไปจะแปรสภาพเปน็ ไขมนั จึงทำใหอ้ ้วนง่าย
ผู้ที่มันนอนหลับในช่วงเวลา 09.00-11.00 น. ม้ามจะอ่อนแอ นอกจากนี้ม้ามยังโยงถึงริมฝีปาก
ผ้ทู ี่พูดบอ่ ย ๆ หรือพูดเก่ง ๆ มา้ มจะชื้น จงึ ควรพูดนอ้ ยกินนอ้ ย ม้ามจึงแข็งแรง
11.00-13.00 น. เป็นช่วงเวลาของหัวใจ หัวใจทำงานหนักในช่วงเวลานี้ จึงควรหลีกเลี่ยง
ความเครียด เหตุที่ทำให้ต้องใช้ความคิดหนัก และหาทางระงับอารมณ์ตื่นเต้นหรืออาการตกใจให้ได้
13.00-15.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้เล็ก จึงควรงดการกินอาหารทุกประเภทเพื่อเปิด
โอกาสให้ลำไส้ทาํงาน ลำไสเ้ล็กมหี น้าท่ดี ดู ซึมสารอาหารท่เีป็นนํ้าทุกชนิด เช่น วิตามนิ ซี บี โปรตนี
เพื่อสร้างกรดอะมิโนสร้างเซลล์สมอง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ สร้างไข่สำหรับผู้หญิง ถ้ากรดอะมิโน
น้อย ไข่จะมาไม่ครบทุกเดือน ผู้หญิงมีลำไส้ยาวกว่าผู้ชาย 11 ฟุต เพื่อให้การดูดซึมได้นานกว่า
เนื่องจากต้องใชก้ รดอะมิโนมากกว่าผ้ชู าย เม่อื มีลาํ ไสย้ าวกว่าจงึ มกี ระดูกซี่โครงมากกว่าผ้ชู ายขา้ งละ
1 ซี่
15.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะปัสสาวะ แนวพลังของกระเพาะปัสสาวะเริ่มจากหัว
เตา -> ผ่านหน้าผาก -> ศีรษะ -> ท้ายทอย -> แผ่นหลังทั้งแผ่น -> สะโพก -> ด้านหลังขา -> หัว
เข่า -> น่อง -> ส้นเท้า -> นิ้วก้อย กระเพาะปัสสาวะจะเกี่ยวข้องกับระบบความจำไทรอยด์และระบบ
เพศทั้งหมด
ช่วงเวลานี้ควรทำให้เหงื่อออก อาจจะออกกำลังกายหรืออบตัว กระเพาะปัสสาวะจะได้แข็งแรง
ข้อควรระวัง ถ้าเหงื่อมีโซเดียมปนออมามากไตจะวาย แต่ถ้ามีโปตัสเซียมปนออกมามาก หัวใจจะวาย
แก้ไขเรื่องหัวใจวายด้วยการให้ดื่มน้ำน้ำส้มหรือน้ำมะนาวเพื่อเติมโปตัสเซียม (ผ้ทู ี่มโี ปตสั เซยี มนอ้ ย
ต้องระวังเรื่องการฉีดยาชา เพราะยาชา จะทำให้โปตัสเซียมลดลงอย่างรวดเร็ว หัวใจอาจวายได้ง่าย)
การอั่นปัสสาวะบ่อย ปสั สาวะจะถกู ดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลอื ด ทำใหเ้หง่อื ท่อี อกมามีกลิ่นเหมน็
เหมือนปัสสาวะ
17.00-19.00 น. เป็นช่วงเวลาของไต จึงควรทำใจให้ลดชื่น ไม่ง่วงเหงาหาวนอนในช่วงเวลานี้
ผ้ใูดมอี าการง่วงนอนช่วงเวลานี้ แสดงวา่ มีปญั หาเร่อื งไตเสอื่ ม ถา้ นอนหลับแล้วเพ้อ แสดงว่าอาการ
หนักมาก
- ไตซ้าย จะคุมสมองด้านขวา ซึ่งควบคุมด้านความคิดสร้างสรรค์อารมณ์สุนทรีย์ รักสวยรักงาม
ชอบแต่งตัว ถ้าไตซ้ายมีปัญหา อารมณ์รักสวยรักงามจะหมดไป กลายเป็นคนปล่อยเนื้อปล่อยตัว และ
เป็นคนขี้ร้อน
- ไตขวา จะคุมสมองด้านซ้าย ซึ่งควบคุมด้านความจำ ถ้าไตขวามีปัญญา ความจำจะเลื่อม
และเปน็ คนข้หี นาว (ผู้ที่ไตแข็งแรงจะเปน็ คนมอี ายุยนื เปน็ คนกล้า)
ถา้ ลำไส้เลก็ มไี ขมนั เกาะมาก อาหารท่อี ยู่ในรูปของสารละลายจะผ่านลำไสเ้ล็กไมไ่ ด ้จึงตกเปน็
ภาระของไต เปน็ ผลให้ไตทาํงานหนัก จึงกลายเปน็ โรคไต ผ้ทู เี่ปน็ โรคไต สมองจะเส่อื ม ปวดหลัง เปน็
หวัดง่าย มีเสลดในคอ
การดูแล คือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นให้อาบน้ำอุ่น กรณีที่อาบน้ำไม่ได้ ให้ใช้วิธีแช่เท้า
แต่นํ้าควรใสส่ มนุ ไพรทถี่ กู กบั โฉลกของผู้ปว่ ย เช่น ขงิ ขา่ กระชาย อย่างใดอย่างหน่งึ

19.00-21.00 น. เป็นช่วงเวลาของเยื่อหุ้มหัวใจ ช่วงเวลานี้ควรจะสวดมนต์ ทำสมาธิ ปัญหา
เกี่ยวกับเยื่อหุ้มหัวใจ คือ หัวใจโต หัวใจรั่ว เส้นโลหิตหัวใจตีบ ดังนั้นผู้ป่วยต้องระวังเรื่องตื่นเต้น ดีใจ
การหัวเราะ กรณีเส้นเลือดขอด ตอ้ งดูแลเยอื่ หุ้มหวั ใจให้แขง็แรง ควรใสเ่ส้อื ผา้ ชุดสดี ำ เทา อาเทา้ แช่
เท้าในน้ำอุ่น
21.00-23.00 น. เป็นช่วงเวลาที่ต้องทำให้ร่างกายอบอุ่น จึงห้ามอาบน้ำเย็นในช่วงเวลานี้
เพราะจะทำให้เจ็บป่วยได้ง่าย อย่าไปตากลม เพราะเป็นช่วงที่ลมเป็นพิษ
23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี (ถงุ นำ้ ดีเปน็ ถงุ สาํ รองเก็บนำ้ ยอ่ ยที่ออกมาจากตบั )
อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะมาดึงน้ำจากถุงน้ำดี ทำให้ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว
สายตาเสอื่ ม เหงอื กจะบวม ปวดฟนั นอนไม่หลบั ตื่นกลางดึก หรือตอนเช้าจะจาม (ถุงน้ำดีจะโยงปึง
ปอด) จะปวดศีรษะข้างเดียวหรือสองข้างโดยไม่ทราบสาเหตุ (ผ้ทู ี่ตัดถงุ นำ้ ดอี อก เมอื่ ตรวจด้วยลูกดิ่ง
จะพบว่า ถุงน้ำดีข้น มักมีอาการปวดขา ปวดสะโพก)
ทางแก้ คือ อย่าใส่ชุดนอนที่เป็นผ้าใยสังเคราะห์ ไนล่อน ชุดนอนที่ทำจากใบสังเคราะห์จะไป
ดูดนำ้ ในร่างกาย ควรสวมชุดผา้ ฝา้ ยที่ดีทสีุ่ด ไมค่ วรนอนบนที่นอนสูง ๆ เพราะจะทาํใหเ้สียนํ้าใน
ร่างกาย ดังนั้น ควรดื่มน้ำก่อนเข้านอน หรือก่อนเวลา 23.00 น.


สรุป
01.00 น. - 03.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"ตับ"

ข้อควรปฏิบัติ : นอนหลับพักผ่อนให้สนิท
อาหารบำรุง : อาหารที่ช่วยล้างพิษ เช่น งา น้ำผลไม้และน้ำสะอาด

03.00 น. - 05.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"ปอด"

ข้อควรปฏิบัติ : ตื่นนอน สูดอากาศสดชื่น
อาหารบำรุง : อาหารจำพวกเบต้าแคโรทีนและวิตามินเอสูง เช่น ส้ม ผักใบเขียว น้ำผึ้ง หอมใหญ่

05.00 น. - 07.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"ลำไส้ใหญ่"

ข้อควรปฏิบัติ : ขับถ่ายอุจจาระ
อาหารบำรุง : อาหารที่มีกากใยสูง เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืช

07.00 น. - 09.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"กระเพาะอาหาร"

ข้อควรปฏิบัติ : กินอาหารเช้า
อาหารบำรุง : ควรมีพลังงานและสารอาหารอย่างน้อย 1 ใน 4 หรือร้อยละ 25 ของปริมาณที่ควรได้รับตลอดวัน

09.00 น. - 11.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"ม้าม"

ข้อควรปฏิบัติ : พูดน้อย กินน้อย ไม่นอนหลับ
อาหารบำรุง : มันเทศสีแดง หรือเหลือง อาหารที่ทำจากบุก

11.00 น. - 13.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"หัวใจ"

ข้อควรปฏิบัติ : หลีกเลี่ยงความเครียดทั้งปวง
อาหารบำรุง : อาหารที่มีสีแดงตามธรรมชาติ เช่น ถั่วแดงและผลไม้สีแดง น้ำมันปลา วิตามินบีต่างๆ

13.00 น. - 15.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"ลำไส้เล็ก"

ข้อควรปฏิบัติ : งดกินอาหารทุกประเภท
อาหารบำรุง : อาหารไขมันต่ำ น้ำสะอาด

15.00 น. - 17.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"กระเพาะปัสสาวะ"

ข้อควรปฏิบัติ : ทำให้เหงื่อออก (ออกกำลังกาย หรือ อบตัว)
อาหารบำรุง : ผลไม้เช่น บิลเบอร์รี่ และทานน้ำสะอาดมากๆ

17.00 น. - 19.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"ไต"

ข้อควรปฏิบัติ : ทำตัวให้สดชื่น ไม่ง่วงหงาวหาวนอน
อาหารบำรุง : อาหารที่มีเกลือต่ำ รวมถึงสมุนไพรจีน เช่น ถั่งเฉ้า

17.00 น. - 21.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"เยื่อหุ้มหัวใจ"

ข้อควรปฏิบัติ : ทำสมาธิ หรือสวดมนต์
อาหารบำรุง : อาหารจำพวกโปรตีนที่มีไขมันต่ำ รวมถึงวิตามินบีต่างๆ

21.00 น. - 23.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"ระบบความร้อนของร่างกาย"

ข้อควรปฏิบัติ : ห้ามอาบน้ำเย็น ห้ามตากลม ทำร่างกายให้อบอุ่น
อาหารบำรุง : อาหารที่มีรสเผ็ดร้อน เช่น ขิง โสม

23.00 น. - 01.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ"ถุงน้ำดี"

ข้อควรปฏิบัติ : ดื่มน้ำก่อนเข้านอน
อาหารบำรุง : อาหารที่มีไขมันต่ำ และไม่ทานอาหารกึ่งสุกกึ่งดิบ

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘