มารู้จัก GAP กันเถอะ
ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับ GAP กันก่อน
GAP ก็คือ บริเวณของราคาในกราฟที่ไม่ได้นำมาเทรด (และจะเกิดเป็นช่องว่างให้เห็นในกราฟ (ตามภาพด้านล่าง) โดยทั่วไปนั้นจะเกิดขึ้นกับราคาปิดและราคาเปิดของวันถัดไปในตลาด ซึ่งปัจจัยหนึ่งของการเกิด Gap มีสาเหตุมาจากการประกาศตัวเลขผลประกอบการหลังจากที่ตลาดปิดไปแล้ว หากผลประกอบการนั้นสูงกว่าผลประกอบการที่ตลาดได้คาดการณ์เอาไว้อย่างมีนัยสำคัญ (((( ((((((หรือ ผลประกอบการดีเกินคาด ในวันถัดมานักลงทุนจะตั้งราคาซื้อให้สูงขึ้นจากราคาปิดวันก่อนทำให้ช่วงราคาที่ขาดหายไป หมายความว่าเกิด Gap ขึ้นนั่นเอง Gap นั้นใช้เป็นหลักฐานหรือข้อพิสูจน์ว่าต้องมีปัจจัยสำคัญบางอย่างส่งผลต่อกับปัจจัยพื้นฐาน หรือ จิตวิทยาการลงทุน ที่มาพร้อมกับกับนักลงทุนที่เข้ามาลงทุนในตลาด (หรือในหุ้น)
ทีนี้เราก็รู้กันแล้วนะครับว่า GAP มีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ต่อมาเราจะมาดูกันว่าแล้ว GAP เนี่ยโดยทั่วไปนั้นมีด้วยกันกี่แบบ
โดยทั่วไปนั้น GAP จะมีอยู่ด้วยกัน 4 แบบ ได้แก่
Exhausting
Gap ในแนวโน้มขาลง
ยืนยันด้วยปริมาณการซื้อขายที่เพิ่มสูงขึ้นเกิดการปิด Gap อย่างรวดเร็วและแท่งเทียนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน
GAP ก็คือ บริเวณของราคาในกราฟที่ไม่ได้นำมาเทรด (และจะเกิดเป็นช่องว่างให้เห็นในกราฟ (ตามภาพด้านล่าง) โดยทั่วไปนั้นจะเกิดขึ้นกับราคาปิดและราคาเปิดของวันถัดไปในตลาด ซึ่งปัจจัยหนึ่งของการเกิด Gap มีสาเหตุมาจากการประกาศตัวเลขผลประกอบการหลังจากที่ตลาดปิดไปแล้ว หากผลประกอบการนั้นสูงกว่าผลประกอบการที่ตลาดได้คาดการณ์เอาไว้อย่างมีนัยสำคัญ (((( ((((((หรือ ผลประกอบการดีเกินคาด ในวันถัดมานักลงทุนจะตั้งราคาซื้อให้สูงขึ้นจากราคาปิดวันก่อนทำให้ช่วงราคาที่ขาดหายไป หมายความว่าเกิด Gap ขึ้นนั่นเอง Gap นั้นใช้เป็นหลักฐานหรือข้อพิสูจน์ว่าต้องมีปัจจัยสำคัญบางอย่างส่งผลต่อกับปัจจัยพื้นฐาน หรือ จิตวิทยาการลงทุน ที่มาพร้อมกับกับนักลงทุนที่เข้ามาลงทุนในตลาด (หรือในหุ้น)
ทีนี้เราก็รู้กันแล้วนะครับว่า GAP มีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ต่อมาเราจะมาดูกันว่าแล้ว GAP เนี่ยโดยทั่วไปนั้นมีด้วยกันกี่แบบ
โดยทั่วไปนั้น GAP จะมีอยู่ด้วยกัน 4 แบบ ได้แก่
1. Common Gap : เป็น Gap ที่เห็นได้ตามปกติ
โดยทั่วไปมักจะเกิดก่อนการประกาศจ่ายปันผล และปริมาณการซื้อขายเบาบาง ซึ่ง Gap ประเภทนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ภายในไม่กี่วัน หรือ
ไม่กี่สัปดาห์ก็จะถูก “ปิด Gap” ดังกล่าว
ดังภาพ
2. Breakaway Gap : Gap ประเภทนี้จะเกิดบริเวณแนวรับ และ แนวต้าน
Breakaway
Gap ขาลง : สังเกตได้จากแท่งเทียนวันถัดไปนั้นเปิดกระโดดลงหลุดแนวรับลงมา
แล้วไม่มีการปิด Gap เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น พร้อมกับปริมาณการซื้อขาย
(Volume) ที่เพิ่มมากขึ้น
Breakaway
Gap ขาขึ้น : สังเกตได้จากแท่งเทียนวันถัดไปนั้นเปิดกระโดดทะลุแนวต้านขึ้นไป
แล้วไม่มีการปิด Gap เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้น พร้อมกับปริมาณการซื้อขาย
(Volume) ที่เพิ่มมากขึ้น
3. Runaway Gap : Runaway Gap นั้นจะเกิดตามแนวโน้มของตลาด (หรือหุ้น)
ที่มันเคลื่อนที่
Runaway Gap เกิดขึ้นกับแนวโน้มขาลง
ยืนยันด้วยปริมาณการซื้อขายที่เพิ่มมากขึ้นเมื่อเกิด Gap
Runaway Gap เกิดขึ้นกับแนวโน้มขาขึ้น
ยืนยันด้วยปริมาณการซื้อขายที่เพิ่มมากขึ้นเมื่อเกิด Gap
4. Exhausting Gap : มักจะเกิดขึ้นใกล้ๆ
กับการเกิดการเปลี่ยนแนวโน้มทั้งขาขึ้น และ ขาลง
ลักษณะคือ ในแนวโน้มขาขึ้นจะเกิดคล้ายกับ Runaway Gap แต่จะมีการปิด Gap อย่างรวดเร็ว และ ปริมาณการซื้อขายที่สูงมาก
พร้อมกับราคาที่ลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งแสดงถึงการเปลี่ยนแนวโน้มจากขาขึ้นเป็นขาลง
ในทิศทางขาลงจะเกิดขึ้นเหมือนกันแต่กลับทิศกัน
Exhausting
Gap ในแนวโน้มขาขึ้น
ยืนยันด้วยปริมาณการซื้อขายที่เพิ่มสูงขึ้นต่อเนื่อง
และเกิดรูปแบบการกลับตัวแนวโน้มระยะสั้นของแท่งเทียนในรูปแบบ Shooting Star