๔. ปาปวรรค คือ หมวดบาป.

๑.            มลา     เว     ปาปกา     ธมมา     อสมึ     โลเก     ปรมหิ     จ.
                      บาปธรรมเป็นมลทินแท้     ทั้งในโลกนี้     ทั้งในโลกอื่น.
                      อง.   อฏฺก.   ๒๓ / ๑๙๘.   ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๔๗.

              ๒.    ทุกโข     ปาปส     อุจจโย.
                      ความสั่งสมบาป     นำทุกข์มาให้.
                      ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๓๐.

              ๓.    ปาปานํ  อกรณํ   สุขํ.
                      การไม่ทำบาป     นำสุขมาให้.
                      ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๕๙.

              ๔.     ปาปํ  ปาเปน  สุกรํ.
                      ความชั่วอันคนชั่วทำง่าย.
                      วิ.   จุล.   ๗ / ๑๙๕.    ขุ.   อุ.   ๒๕ / ๑๖๘.

              ๕.     ปาเป    รมตี  สุจิ.
                      คนสะอาดไม่ยินดีในความชั่ว.
                      วิ.   มหา.   ๕ / ๓๔.   ขุ.   อุ.   ๒๕ / ๑๖๖.

              ๖.     สกมมุนา  ติ  ปาปธมโม.
                      คนมีสันดานชั่ว     ย่อมลำบากเพราะกรรมของตน.
                      ม.   ม.   ๑๓ / ๔๑๓.   ขุ.   เถร.   ๒๖ / ๓๗๙.

              .     ตปสา  ปชหนติ   ปาปกมมํ.
                      สาธุชนย่อมละบาปกรรมด้วยตปะ.
                      ขุ.   ชา.   อฏฺ.   ๒๗ / ๒๔๕.
              .                                                                             ปาปานิ     กมมานิ     กโรนติ     โมหา.
                      คนมักทำบาปกรรมเพราะความหลง.
                      ม.   ม.   ๑๓ / ๔๑๓.   ขุ.   ชา.   ปกิณฺณก.   ๒๗ / ๓๘๐.

              ๙.    นตถิ     ปาปํ     อกุพพโต.
                      บาปไม่มีแก่ผู้ไม่ทำ.
                      ขุ.   ธ.   ๒๕ / ๓๑.

              ๑๐.   ธมมํ  เม  ภณมานส    ปาปมุปลิมปติ.
                      เมื่อเรากล่าวธรรมอยู่     บาปย่อมไม่แปดเปื้อน.
                      ขุ.   ชา.   สตตก.   ๒๗ / ๒๒๔.

              ๑๑.   นตถิ  อการิยํ  ปาปํ  มุสาวาทิส  ชนตุโน.
                      คนมักพูดมุสา     จะไม่พึงทำความชั่ว     ย่อมไม่มี.
                      นัย-   ขุ.   .   ๒๕ / ๓๘.   นัย -   ขุ.   อิติ.   ๒๕ / ๒๔๓.

              ๑๒.   ปาปานิ  ปริวชชเย.
                      พึงละเว้นบาปทั้งหลาย.
                                                                                              ขุ.   .   ๒๕ / ๓๑.

              ๑๓.    ฆาสเหตุปิ  กเรย  ปาปํ.
                      ไม่ควรทำบาปเพราะเห็นแก่กิน.
                      นัย-   ขุ.   ชา.   นวก.   ๒๗ / ๒๖๒.

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘