๑. ทานวรรค คือ หมวดทาน

.             ทาน  ยุท  สมานมาหุ.
                      ท่านว่า   ทานและการรบ  เสมอกัน
                      สํ.   .   ๑๕ / ๒๙   ขุ.   ชา.   อฎฺฐก.    ๒๗ / ๒๔๙.

              .    นตถิ  จิตเต  ปสนนมหิ       อปปกา  นาม  ทกขิณา.
                      เมื่อจิตเลื่อมใสแล้ว     ทักขิณาทานชื่อว่าน้อย     ย่อมไม่มี.
                      ขุ.   วิมาน.   ๒๖ / ๘๒.     

              .    วิเจย    ทานํ     สุคตปฺปสตฺถํ.
                      การเลือกให้     อันพระสุคตทรงสรรเสริญ
                      สํ. ส. ๑๕ / ๓๐. ขุ. ชา. อฏฐก. ๒๗ / ๒๔๙.  เปต. ๒๖ / ๑๙๗.

              ๔.    พาลา     หเว     นปปสํสนติ.     ทานํ.
                      คนพาลเท่านั้น     ย่อมไม่สรรเสริญทาน.
                      ขุ. ชา.   ๒๕ / ๓๘.

              ๕.    ททํ     มิตตานิ     คนถติ.
                      ผู้ให้     ย่อมผูกไมตรีไว้ได้.
                      สํ.   ส.   ๑๕ / ๓๑๖.

              ๖.    ททํ     ปิโย     โหติ     ภชนติ     นํ     พหู.
                      ผู้ให้     ย่อมเป็นที่รัก     คนหมู่มากย่อมคบเขา.
                    อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๔๓.


              ๗.    ททมาโน     ปิโย     โหติ.
                      ผู้ให้     ย่อมเป็นที่รัก.
                      อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๔๔.
    
              ๘.                                                                            สุขส  ทาตา  เมธาวี   สุขํ  โส  อธิคจฉติ.
                      ปราชญ์ผู้ให้ความสุข     ย่อมได้รับความสุข.
                      อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๔๕.

              ๙.    มนาปทายี  ลภเต  มนาปํ
                      ผู้ให้สิ่งที่ชอบใจ       ย่อมได้สิ่งที่ชอบใจ.
                      อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๕๕.

              ๑๐.   เสฏทโท     เสฏมุเปติ     านํ.
                      ผู้ให้สิ่งประเสริฐ     ย่อมถึงฐานะที่ประเสริฐ.
                      อง.    ปญจก.   ๒๒ / ๕๖.

              ๑๑.   อคคส  ทาตา  ลภเต  ปุนคคํ.
                      ผู้ให้สิ่งที่เลิศ     ย่อมได้สิ่งที่เลิศอีก.
                      อง.   ปญจก.   ๒๒ / ๕๖.

              ๑๒.  ททโต  ปุญํ  ปวฑฒติ.
                      เมื่อให้     บุญก็เพิ่มขึ้น.
              ที.   มหา.   ๑๐ / ๑๕๙.   ขุ.   อุ.   ๒๕ / ๒๑๕.

              ๑๓.  ทเทย     ปุริโส     ทานํ.
                      คนควรให้ของที่ควรให้
                      ขุ.   ชา.   สตตก.   ๒๗ / ๒๑๗.

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘