จิตตวรรค คือ หมวดจิต

                      .      อนวสสุตจิตตส                 อนนวาหตเจตโส
                               ปุญญปาปปหีนส               นตถิ  ชาครโต ภยํ.
               ผู้มีจิตอันไม่ชุ่มด้วยราคะ  มีใจอันโทสะไม่กระทบแล้ว  มีบุญและบาปอันละได้แล้ว    ตื่นอยู่  ย่อมไม่มีภัย
                                 ( พุท)                           ขุ.   .    ๒๕ / ๒๐.
                        .     กุมฺภูปมํ  กายมิมํ  วิทิตฺวา
                               นครูปมํ  จิตตมิทํ  ถเกตวา
                               โยเธถ  มารํ  ปญญาวุเธน
                               ชิตญ  รกเข  อนิเวสโน  สิยา
               บุคคลรู้กายนี้ที่เปรียบด้วยหม้อ  กั้นจิตที่เปรียบด้วยเมืองนี้แล้ว  พึงรบมารด้วยอาวุธคือปัญญา  และพึงรักษาแนวที่ชนะไว้  ไม่พึงยับยั้งอยู่
                          ( พุทธ )                           ขุ.   ธ.    ๒๕ / ๒๐.
                     ๓.                                                 จิตเตน  นียติ  โลโก        จิตเตน  ปริกสสติ
                          จิตตสส  เอกธมมสส            สพเพว  วสมนวคู.
โลกถูกจิตนำไป  ถูกจิตชักไป,  สัตว์ทั้งปวงไปสู่อำนาจแห่งจิตอย่างเดียว
                          ( พุทธ )                           สํ.   .    ๑๕ / ๕๔.
                   .    ตณหาธิปนนา  วตตสีลพทธา
                         ลูขํ  ตปํ  วสสสตํ  จรนตา
                          จิตตญ  เนสํ    สมมา  วิมุตตํ
                          หีนตตรูปา    ปารงคมา  เต.                                                             
            ผู้ถูกตัณหาครอบงำ  ถูกศีลพรตผูกมัด  ประพฤติตบะอันเศร้าหมองตั้งร้อยปี,     จิตของเขาก็หลุดพ้นด้วยดีไม่ได้  เขามีตนเลวจะถึงฝั่งไม่ได้
                          ( พุทธ )                           สํ.   ส.    ๑๕ / ๔๐.
                   ๕.    ทุนนิคคหสส  ลหุโน             ยตถ  กามนิปาติโน
                          จิต ตสส  ทมโถ  สาธุ           จิตตํ  ทนตํ  สุขาวหํ.
            การฝึกจิตที่ข่มยาก  ที่เบา  มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่  เป็นความดี,  (เพราะว่า)     จิตที่ฝึกแล้ว  นำสุขมาให้
                          ( พุทธ )                           ขุ.  ธ.  ๒๕ / ๑๙.
                        
                   .     ปทุฏฐจิตตส    ผาติ  โหติ
                                 จาปิ  นํ  เทวตา  ปูชยนติ
                               โย  ภาตรํ  เปตติกํ  สาปเตยยํ
                               อวญจยี  ทุกกฏกมมการี.
                 ผู้ใดทำกรรมชั่ว  ล่อลวงเอาทรัพย์สมบัติพี่น้องพ่อแม่  ผู้นั้นมีจิตชั่วร้าย  ย่อมไม่มีความเจริญ  แม้เทวดาก็ไม่บูชาเขา
                          ( นทีเทวดา )                      ขุ.  ชา.  ติก.  ๒๗ /๑๒๐.
                   ๗.     ภิกขุ  สิยา  ฌายิ  วิมุตตจิตโต
                                 อากงเข  เว  หทยสสานุปตตึ
                                 โลก สส  ญตวา  อุทยพพยญจ
                                 สุเจต โส  อนิสสิโต  ตทานิสํโส.
                  ภิกษุเพ่งพินิจ  มีจิตหลุดพ้น  รู้ความเกิดและความเสื่อมแห่งโลกแล้ว  มีใจดี     ไม่ถูกกิเลสอาศัย  มีธรรมนั้นเป็นอานิสงส์  พึงหวังความบริสุทธิ์แห่งใจได้
                                 ( เทวปุ ต)                           สํ.  .  ๑๔ / ๗๓.
                   .     โย  อลีเนน  จิตเตน                 อลีนมนโส  นโร
                                 ภาเวติ  กุสลํ  ธมมํ                  โยคกเขมส  ปตติยา
                                 ปาปุเณ  อนุปุพเพน                  สพพสํโยชนกขยํ.
                  คนใด  มีจิตไม่ท้อถอย  มีใจไม่หดหู่  บำเพ็ญกุศลธรรม  เพื่อบรรลุธรรมที่เกษมจากโยคะ  พึงบรรลุธรรมเป็นที่สิ้นสังโยชน์ทั้งปวงได้.          
                          ( พุทธ )                           ขุ.  ชา.  เอก.  ๒๗ / ๑๘.
                   ๙.    สุทุททสํ  สุนิปุณํ                 ยตถ  กามนิปาตินํ
                          จิต ตํ  รกเขถ  เมธาวี           จิตตํ  คุตตํ  สุขาวหํ.
                   ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตที่เห็นได้ยากนัก  ละเอียดนัก  มักตกไปในอารมณ์ที่น่าใคร่,  (เพราะว่า)  จิตที่คุ้มครองแล้ว  นำสุขมาให้
                   ( พุทธ )                                  ขุ.  .  ๒๕ / ๑๙.

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘