ปัญหาและเฉลยวิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท สอบในสนามหลวง วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เวลา ๑๕.๐๐ น.

คำสั่ง :         จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
         ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
. ชาวพุทธ ควรยึดถืออะไรเป็นที่พึ่งที่ระลึก ?
      . ไตรสรณคมน์                              . ไตรปิฎก
      . ไตรลักษณ์                                 . ไตรสิกขา
        คำตอบ :
. สรณคมน์ หมายถึงอะไร ?

        . ขอพร                                          . ขอให้คุ้มครอง

        . บนบาน                                        . ทำตามคำสอน

             คำตอบ :
. ข้อใด ไม่นับเข้าในสรณะทั้ง ?
      . พระพุทธเจ้า                            . พระธรรม
      . พระสงฆ์                               . พระโพธิสัตว์
        คำตอบ :
. สรณคมน์ขาดเพราะสาเหตุใด ไม่มีโทษ ?
      . ความตาย                              . ทำร้ายพระศาสดา
      . ไปนับถือศาสดาอื่น                     . ไม่มีข้อใดถูก
        คำตอบ :

. ความเชื่อเช่นไร เป็นเหตุให้สรณคมน์เศร้าหมอง ?
      . เชื่อกรรม                                   . เชื่อบาปบุญ
      . เชื่อมงคลตื่นข่าว                           . เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ
        คำตอบ :
. จุดประสงค์ในการถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ตรงกับข้อใด ?     
      . ทำบุญเพื่อล้างบาป                      . ทำบุญแสวงหาลาภ
      . หาเช่าจตุคามรุ่นนิยม                   . ปฏิบัติเพื่อกำจัดกิเลส
        คำตอบ :
. การขาดสรณคมน์ เกิดขึ้นได้แก่บุคคลใด ?
      . บุคคลทั่วไป                            . โสดาบันบุคคล
      . สกทาคามีบุคคล                        . อนาคามีบุคคล
        คำตอบ :
. “สุปปพุทธกุฏฐิเป็นแบบอย่างของบุคคลผู้มั่นคงในเรื่องใด ?
      . การถือศีล                              . การถือสันโดษ
      . การถือสัจจะ                            . การถือสรณคมน์
        คำตอบ :
. ตัดเศียรพระพุทธรูป เป็นความเศร้าหมองแห่งสรณคมน์เรื่องใด ?

        . ความไม่รู้                                      . ความรู้ผิด

      . ความสงสัย                                . ความไม่เอื้อเฟื้อ
        คำตอบ :


๑๐. “นรกมีจริงหรือเป็นความเศร้าหมองแห่งสรณคมน์เรื่องใด ?

        . ความไม่รู้                                      . ความรู้ผิด

      . ความสงสัย                                . ความไม่เอื้อเฟื้อ
        คำตอบ :
๑๑. “ผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัยหมายเฉพาะใคร ? 
      . ภิกษุ ภิกษุณี                           . สามเณร สามเณรี
      . อุบาสก อุบาสิกา                        . พุทธบริษัททั้ง
        คำตอบ :
๑๒. พาณิชสองพี่น้องเข้าถึงพระรัตนตรัยด้วยวิธีใด ?
        ก. สมาทาน                                ข. มอบตนเป็นสาวก
        ค. ถวายชีวิต                               ง. แสดงความเลื่อมใส
        คำตอบ :
๑๓. ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เป็นความหมายของข้อใด ?  

        . พระพุทธ                                      . พระธรรม

        . พระสงฆ์                                      . พระอริยะ

             คำตอบ :
๑๔. คำว่า ธรรมรักษา ในความหมายของสรณะ ตรงกับข้อใด ?
      . กำจัดภัย                                . ไม่ให้ตกอบาย
      . เป็นเนื้อนาบุญ                          . ถูกทุกข้อ
        คำตอบ :
๑๕. พระสงฆ์ได้นามว่า สังฆะ เพราะเหตุใด ?
      . บวชในพระพุทธศาสนา                 . มีทิฏฐิและศีลเสมอกัน
      . อาศัยอยู่ในวัดเดียวกัน                 . โกนผมห่มจีวรเหมือนกัน
        คำตอบ :
๑๖. คำเปล่งวาจาว่า สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ หมายถึงอะไร ?
      . มีพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งที่ระลึก
      . มีพระธรรมเป็นที่พึ่งที่ระลึก

        . มีพระสงฆ์เป็นที่พึ่งที่ระลึก    

        . มีพระพรหมเป็นที่พึ่งที่ระลึก

             คำตอบ :
๑๗. การรักษาอุโบสถศีลในพระพุทธศาสนา มีต้นเหตุมาจากใคร ?
        ก. พระเจ้าสุทโธทนะ                        ข. พระเจ้าพิมพิสาร
        ค. พระเจ้าปเสนทิโกศล                     ง. พระเจ้าอชาตศัตรู
        คำตอบ :
๑๘. คำว่า อุโบสถ แปลว่าอะไร ?

        . การเข้าจำ                                      . การจำพรรษา      

        . การปฏิบัติธรรม                              . การอดอาหาร

             คำตอบ :
๑๙. อุโบสถเริ่มปฏิบัติกันมาตั้งแต่สมัยใด ?

        . ก่อนพุทธกาล                                 . สมัยพุทธกาล

      . กึ่งพุทธกาล                             . หลังพุทธกาล
        คำตอบ :
๒๐. อุโบสถประกอบด้วยสรณะและองค์ เกิดขึ้นในสมัยใด ?

      . ก่อนพุทธกาล                                 . สมัยพุทธกาล

      . กึ่งพุทธกาล                             . หลังพุทธกาล
        คำตอบ :


๒๑. อุโบสถศีล บัญญัติขึ้นสำหรับใคร ?
      . ภิกษุ                                   . ภิกษุณี
      . คนทั่วไป                               . อุบาสก อุบาสิกา
        คำตอบ :
๒๒. อุโบสถศีลต่างจากศีล อย่างไร ?
        ก. มีกำหนดเวลารักษา                      ข. ไม่มีกำหนดเวลารักษา
        ค. เป็นพื้นฐานของมนุษย์                   ง. เป็นบัญญัติชอบธรรม
        คำตอบ :
๒๓. อาการเช่นไร เรียกว่ารักษาอุโบสถศีล ?
        ก. การถือศีลกินเจ                               ข. การถือไม่พูดกับใคร
        ค. การงดเว้นข้อห้าม                            ง. การงดเหล้าเข้าพรรษา
        คำตอบ :
๒๔. การสมาทานอุโบสถศีล ข้อใดกล่าวถูกต้อง ?
      . สมาทานในวันใดก็ได้                   . สมาทานกับใครก็ได้
      . สมาทานต่อหน้าพระสงฆ์               . สมาทานตามวันที่กำหนด
        คำตอบ :
๒๕. สิกขาบทที่ แห่งอุโบสถศีล ว่าอย่างไร ?
      . ปาณาติปาตา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
      . อพฺรหฺมจริยา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
      . มุสาวาทา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
      . วิกาลโภชนา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ     
        คำตอบ :


๒๖. ผู้สมาทานอุโบสถศีลข้อที่ พึงงดเว้นการกระทำในเรื่องใด ? 
      . การล่วงประเวณี                        . การพูดเท็จ
      . การดื่มสุราเมรัย                        . การกินอาหาร
        คำตอบ :
๒๗. อุโบสถศีลข้อที่ บัญญัติขึ้นเพื่อให้ผู้รักษาเป็นคนเช่นไร ?
      . ขยัน                                    . ประหยัด
      . ซื่อสัตย์                                . อดทน
        คำตอบ :
๒๘. ปลาหมอตายเพราะปาก มีความหมายตรงกับข้อใด ?
      . พูดเท็จ                                 . ดื่มน้ำเมา
      . บริโภคอาหาร                           . ขับร้องเพลง
        คำตอบ :
๒๙. ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบทคือเว้นจากพูดเท็จ ตรงกับศีลข้อใด ?
      . ข้อ                                    . ข้อ
      . ข้อ                                   . ข้อ
        คำตอบ :
๓๐. สมาทานอุโบสถศีล แต่บริโภคอาหารค่ำ ชื่อว่าละเมิดศีลข้อใด ?
      . ข้อ                                  . ข้อ
      . ข้อ                                   . ข้อ    
        คำตอบ :
๓๑. คำว่า วิกาลในอุโบสถศีล กำหนดไว้อย่างไร ?
      . เช้าถึงเที่ยง                              . เช้าถึงบ่าย
      . เช้าถึงเย็น                               . เที่ยงถึงอรุณขึ้น
        คำตอบ :
๓๒. ประโยชน์ของการรักษาอุโบสถศีลข้อที่ ตรงกับข้อใด ?
      . เพื่อทรมานกิเลส                        . เพื่อทรมานสังขาร
      . เพื่อตัดความกังวล                      . เพื่อความประหยัด
        คำตอบ :
๓๓. เพลงเช่นไร ไม่ถือว่าเป็นข้าศึกแก่การรักษาอุโบสถศีล ?
      . เพลงลูกทุ่ง                             . เพลงเพื่อชีวิต
      . เพลงธรรมะ                            . เพลงละครทีวี
        คำตอบ :
๓๔. การเว้นจากการลูบไล้ทาเครื่องย้อมเครื่องประดับตกแต่งร่างกาย
     ชื่อว่ารักษาอุโบสถศีลข้อใด ?
      . ข้อ                                    . ข้อ
      . ข้อ                                   . ข้อ
        คำตอบ :
๓๕. ที่นั่งที่นอนเช่นไร อนุโลมแก่ผู้รักษาอุโบสถศีล ?
        ก. ที่นั่งที่นอนสูง                                 ข. ที่นั่งที่นอนใหญ่  
        ค. ที่นั่งที่นอนยัดนุ่น                            ง. ที่นั่งที่นอนยัดขนแกะ
        คำตอบ :
๓๖. ข้อใด ไม่นับเข้าในอุโบสถศีลอันประกอบด้วยองค์ ?
      . ไม่ลักของผู้อื่น                          . ไม่พูดเท็จ
      . ไม่ดูการละเล่น                          . ไม่จับเงินทอง
        คำตอบ :



๓๗. อุโบสถศีลที่รักษาเฉพาะวันหนึ่งคืนหนึ่ง ตรงกับข้อใด ?
      . ปกติอุโบสถ                            . ปฏิชาครอุโบสถ
      . ปาฏิหาริยอุโบสถ                       . โคปาลกอุโบสถ
        คำตอบ :
๓๘. การถือศีลอุโบสถ ปล่อยวันคืนให้ผ่านพ้นไปโดยเปล่าประโยชน์
      ไม่ทำความดี อะไรเลย จัดเป็นอุโบสถประเภทใด ?
      . ปกติอุโบสถ                            . ปฏิชาครอุโบสถ
      . ปาฏิหาริยอุโบสถ                       . โคปาลกอุโบสถ
        คำตอบ :
๓๙. การรักษาอุโบสถประเภทใด เทียบเคียงได้กับการจำพรรษาของพระภิกษุ
      ในช่วงฤดูฝน ?
        ก. ปกติอุโบสถ                             ข. ปฏิชาครอุโบสถ
        ค. อริยอุโบสถ                              ง. ปาฏิหาริยอุโบสถ
        คำตอบ :
๔๐. วันรับ วันรักษา วันส่ง มีความเกี่ยวข้องกับอุโบสถประเภทใด ? 
      . ปกติอุโบสถ                            . ปฏิชาครอุโบสถ
      . ปาฏิหาริยอุโบสถ                       . โคปาลกอุโบสถ
        คำตอบ :
๔๑. อุโบสถของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ตรงกับข้อใด ? 
        ก. ปฏิชาครอุโบสถ                             ข. ปาฏิหาริยอุโบสถ

        ค. นิคคัณฐอุโบสถ                              ง. โคปาลกอุโบสถ

             คำตอบ :


๔๒. ผู้สมาทานรักษาอุโบสถศีล พึงปฏิบัติตนอย่างไร ?
      . บริจาคทาน                             . รักษาศีล
      . เจริญภาวนา                            . ถูกทุกข้อ
        คำตอบ :
๔๓. การสมาทานอุโบสถศีล กำหนดให้สมาทานที่ไหน ?
      . ที่วัด                                    . ที่บ้าน
      . ที่โรงพยาบาล                           . ที่ไหนก็ได้
        คำตอบ :
๔๔. อัฏฐมีดิถี ในคำประกาศอุโบสถศีล หมายถึงวันใด ?
      . วัน ค่ำ                              . วัน ค่ำ
      . วัน ๑๔ ค่ำ                             . วัน ๑๕ ค่ำ
        คำตอบ :
๔๕. การรักษาอุโบสถศีล ชื่อว่าปฏิบัติตามหลักธรรมหมวดใด ?
      . บุญกิริยาวัตถุ                           . สังคหวัตถุ
      . พรหมวิหาร                             . สติปัฏฐาน
        คำตอบ :
๔๖. การรักษาอุโบสถศีล จะสิ้นสุดลงในเวลาใด ?
        ก. เมื่อเลิกรักษา                            ข. เมื่อพ้นกำหนด
        ค. เมื่อเจ็บป่วย                             ง. เมื่อมีญาติตาย
        คำตอบ :
๔๗. การรักษาอุโบสถศีล จัดอยู่ในศาสนพิธีประเภทใด ?
      . กุศลพิธี                                . บุญพิธี
      . ทานพิธี                                 . ปกิณกะ
        คำตอบ :
๔๘. ข้อใด ไม่เกี่ยวข้องกับระเบียบพิธีในการรักษาอุโบสถศีล ? 
        ก. ประกาศองค์อุโบสถ                     ข. อาราธนาศีล
        ค. อาราธนาธรรม                           ง. สมาทานศีล
        คำตอบ :
๔๙. การรักษาอุโบสถศีล จัดเข้าในไตรสิกขาข้อใด ? 
      . ศีล                                     . สมาธิ
      . ปัญญา                                 . ถูกทุกข้อ
        คำตอบ :
๕๐. อุโบสถศีลที่รักษาดีแล้ว ย่อมได้รับอานิสงส์สูงสุดในข้อใด ?
        ก. โภคสมบัติ                              ข. มนุษยสมบัติ
        ค. สวรรคสมบัติ                           ง. นิพพานสมบัติ
        คำตอบ :

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘