วินัยนักธรรมโท46

»Ñ­ËÒáÅÐà©ÅÂÇÔªÒÇԹѺѭ­ÑµÔ  ¹Ñ¡¸ÃÃÁªÑé¹â·
Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ

ÇѹÍÒ·ÔµÂì ·Õè óð ¾ÄȨԡÒ¹ ¾.È. òõôö

*********
.
.

สิกขาบทนอกพระปาฏิโมกข์  เรียกว่าอะไร ?  มีกี่อย่าง ?  อะไรบ้าง ?


.

ภิกษุล่วงละเมิดสิกขาบทนอกพระปาฏิโมกข์นั้น  ต้องอาบัติโดยตรงอย่างไรบ้าง ?

.
.

เรียกว่าอภิสมาจาร ฯ

มี    อย่าง  คือ  เป็นข้อห้าม   เป็นข้ออนุญาต

.
ต้องอาบัติโดยตรง    อย่าง  คือ  ถุลลัจจัย   ทุกกฏ
.
บริขารต่อไปนี้ได้แก่อะไรบ้าง ?

.
บริขารเครื่องบริโภค

.
บริขารเครื่องอุปโภค
.
.
ได้แก่  ไตรจีวร  ผ้าปูนอน  ผ้าเช็ดหน้าเช็ดปาก  ผ้านิสีทนะ  บาตร

.
ได้แก่  กล่องเข็ม  เครื่องกรองน้ำ  มีดโกนพร้อมทั้งฝัก  หินสำหรับลับ  กับเครื่องสะบัด   ร่ม รองเท้า
.
.

การแสดงความเคารพได้แก่กิริยาเช่นไร ?


.
ภิกษุควรงดทำความเคารพกันในเวลาใดบ้าง ?  จงตอบมา    ข้อ
.
.
ได้แก่  การกราบไหว้  การลุกรับ  การทำอัญชลี  การทำสามีจิกรรม

.
ในเวลาดังต่อไปนี้ (ตอบมา    ข้อ)
     ) ในเวลาประพฤติวุฏฐานวิธี คือ อยู่กรรมเพื่อออกจากอาบัติสังฆาทิเสส
     ) ในเวลาถูกสงฆ์ลงอุกเขปนียกรรม
     ) ในเวลาเปลือยกาย
     ) ในเวลาเข้าบ้านหรือเดินอยู่ตามทาง
     ) ในเวลาอยู่ในที่มืดแลไม่เห็นกัน
     ) ในเวลาที่ท่านไม่รู้
     ) ในเวลาขบฉันอาหาร
     ) ในเวลาถ่ายอุจจาระปัสสาวะ
.
.

ท่านห้ามไม่ให้จำพรรษาตลอด    เดือนฤดูฝนนั้น  เพราะเหตุไร ?


.
อีก   วันจะถึงวันปวารณา  ภิกษุทำสัตตาหกรณียะไปปวารณาที่วัดอื่น  เธอจะได้รับอานิสงส์การจำพรรษาหรือไม่ ?  เพราะเหตุไร ?
.
.
เพราะต้องการเดือนท้ายฤดูฝนไว้เป็นจีวรกาล คราวแสวงหาจีวร คราวทำจีวร เพื่อผลัด ผ้าไตรจีวรเดิม

.
ได้รับอานิสงส์การจำพรรษาเหมือนกัน  เพราะวันสุดท้ายแห่งวันจำพรรษาตกอยู่ในวันที่    ในที่อื่นบ่งให้กลับใน    วันนั้นเพราะยังไม่สิ้นกำหนดวันจำพรรษา
.
.

ภิกษุพึงประชุมกันสวดพระปาฏิโมกข์ในวันเช่นไรบ้าง ?


.
กำลังสวดพระปาฏิโมกข์ค้างอยู่  หากมีภิกษุอื่นมาถึงเข้าจะปฏิบัติอย่างไร ?
.
.
ในวันพระจันทร์เพ็ญ  (ดิถีขึ้น ๑๕ ค่ำ) วันพระจันทร์ดับ (ดิถีแรม ๑๕  ค่ำ หรือ ๑๔  ค่ำ)  และวันสามัคคี

.
ปฏิบัติอย่างนี้  คือ  ถ้าภิกษุผู้เข้ามาใหม่มากกว่าภิกษุผู้ชุมนุม   ต้องสวดตั้งต้นใหม่  ถ้าเท่ากัน  หรือน้อยกว่า  ส่วนที่สวดไปแล้วก็ให้เป็นอันสวดแล้ว  ให้เธอผู้มาใหม่ฟัง  ส่วนที่ยังเหลือต่อไป
.
.

สังฆปวารณา  คืออะไร ?


.
คำบอกปาริสุทธิว่าอย่างไร ?

.
.
คือ  ปวารณาเป็นการสงฆ์ มีภิกษุประชุมตั้งแต่    รูปขึ้นไป

.
ว่าดังนี้
    
สำหรับผู้แก่พรรษากว่าว่า  ปริสุทฺโธ  อหํ  อาวุโส  ปริสุทฺโธติ 
มํ  ธาเรหิ  ว่า    หน
     สำหรับผู้อ่อนพรรษากว่าว่า  ปริสุทฺโธ  อหํ  ภนฺเต  ปริสุทฺโธติ 
มํ  ธาเรถ  ว่า    หน
.
ความประพฤติต่อไปนี้  จัดเข้าในอุปปถกิริยาข้อไหน ?

.
ชอบเล่นคะนอง  ร้องรำทำเพลง

.
ชอบด่าว่า  เสียดสี  เปรียบเปรยเขา  ยุยงให้เขาแตกกัน
.
.
จัดเข้าในข้ออนาจาร  ความประพฤติไม่ดีไม่งาม

.
จัดเข้าในข้อปาปสมาจาร  ความประพฤติเลวทราม
.
.

อุททิสมังสะ  ได้แก่เนื้อเช่นไร ?


.
ภิกษุฉันเนื้องู  เนื้อมนุษย์  ต้องอาบัติอะไร ?
.
.
อุททิสมังสะ  ได้แก่เนื้อที่เป็นกัปปิยะโดยกำเนิดและเขาทำให้สุกแล้ว  แต่เป็นของที่เขาฆ่าเพื่อทำเป็นอาหารถวายพระภิกษุโดยตรง

.
ภิกษุฉันเนื้องู  ต้องอาบัติทุกกฏ   ฉันเนื้อมนุษย์  ต้องอาบัติถุลลัจจัย
.
.

วินัยกรรม  คืออะไร ?  มีกี่อย่าง  อะไรบ้าง ?


.
การทำวินัยกรรมมีจำกัดบุคคลหรือสถานที่ไว้อย่างไรบ้าง ?
.
.

คือ  การทำกิจตามพระวินัย ฯ

มี    อย่าง  คือ

      )  การแสดงอาบัติ

      )  การอธิษฐาน

     )  การวิกัป

.

มีจำกัดบุคคลหรือสถานที่ดังนี้

      ) แสดงอาบัติต้องแสดงแก่ภิกษุผู้มีสังวาสเสมอกัน

      ) อธิษฐานต้องทำเอง

     ) วิกัปต้องทำแก่สหธรรมิกทั้ง   คือ ภิกษุ ภิกษุณี  สิกขมานา
       
สามเณร สามเณรี รูปใดรูปหนึ่ง   ส่วนสถานที่ห้ามไม่ให้ทำ
       
ในที่มืด แต่ในที่นอกสีมา ก็ทำได้      
๑๐.
๑๐.
วิบัติของภิกษุในทางพระวินัยมีเท่าไร ?  อะไรบ้าง ?

๑๐.
จงให้ความหมายของวิบัติแต่ละอย่างนั้นพอได้ใจความ
๑๐.
๑๐.

มี    คือ

      ) สีลวิบัติ

      ) อาจารวิบัติ

      ) ทิฏฐิวิบัติ

     ) อาชีววิบัติ

๑๐.

ความเสียแห่งศีล  ชื่อว่าสีลวิบัติ  

ความเสียมารยาท  ชื่อว่าอาจารวิบัติ 

ความเห็นผิดธรรมผิดวินัย  ชื่อว่าทิฏฐิวิบัติ 

ความเสียแห่งการเลี้ยงชีพ  ชื่อว่าอาชีววิบัติ


 

ผู้ออกข้อสอบ  
:
. พระธรรมเมธาจารย์
วัดบุรณศิริมาตยาราม


. พระเทพปริยัติเมธี
วัดชลประทานรังสฤษฎ์


. พระศรีปริยัติเมธี
วัดเทพธิดาราม
ตรวจ/ปรับปรุง
:
สนามหลวงแผนกธรรม

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘