พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑ หน้า 406-410

                                                            หน้าที่ ๔๐๖

                ๓. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว
เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน  ...  ตติยฌาน  ...  จตุตถฌาน ...
สุญญตวิโมกข์  ...  อนิมิตตวิโมกข์  ...  อัปปณิหิตวิโมกข์  ...  สุญญตสมาธิ  ...  อนิมิตตสมาธิ  ...
อัปปณิหิตสมาธิ  ...  สุญญตสมาบัติ  ...  อนิมิตตสมาบัติ  ...  อัปปณิหิตสมาบัติ  ...  วิชชา ๓  ...
สติปัฏฐาน ๔ ... สัมมัปปธาน ๔ ... อิทธิบาท ๔  ... อินทรีย์ ๕  ...  พละ ๕  ...  โพชฌงค์ ๗  ...
อริยมรรคมีองค์ ๘  ...  โสดาปัตติผล  ...  สกทาคามิผล  ...  อนาคามิผล  ...  อรหัตตผล ด้วยอาการ
๓ อย่าง  ...  ๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว  ...  โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว  ...  โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง  ...  ๔ อย่าง ...
๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว จิตของภิกษุนั้นเปิด
จากราคะ ... จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ  ...  จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง


                                                            หน้าที่ ๔๐๗

กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า บิณฑบาตของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร  ...  ซึ่งทุติยฌานใน
สุญญาคาร  ...  ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร  ...  ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓ อย่าง  ...
๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขา
ไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ๔. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว
เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง  ...
๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน  ...  ตติยฌาน  ...  จตุตถฌาน  ...
สุญญตวิโมกข์  ...  อนิมิตตวิโมกข์  ...  อัปปณิหิตวิโมกข์  ...  สุญญตสมาธิ  ...  อนิมิตตสมาธิ  ...
อัปปณิหิตสมาธิ  ...  สุญญตสมาบัติ  ...  อนิมิตตสมาบัติ  ...  อัปปณิหิตสมาบัติ  ...  วิชชา ๓  ...
สติปัฏฐาน ๔  ...  สัมมัปปธาน ๔  ...  อิทธิบาท ๔  ...  อินทรีย์ ๕  ...  พละ ๕  ...  โพชฌงค์ ๗  ...  อริยมรรคมี
องค์ ๘  ...  โสดาปัตติผล  ...  สกทาคามิผล  ...  อนาคามิผล  ...  อรหัตตผล ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า
กล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ
๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่
เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ


                                                            หน้าที่ ๔๐๘

                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ราคะ ภิกษุนั้นสละ
แล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว  ...  โทสะ ภิกษุนั้นสละ
แล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว  ...  โมหะ ภิกษุนั้นสละ
แล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง  ...
๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขา
ไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว จิตของภิกษุนั้นเปิด
จากราคะ  ...  จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ  ...  จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เสนาสนะของท่านอันภิกษุใดใช้สอยแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว
เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร  ...  ซึ่งทุติย-
ฌานในสุญญาคาร  ...  ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร  ...  ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วยอาการ ๓
อย่าง ... ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลัง
กล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพราง
ความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ๕. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใด
บริโภคแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน
ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า
จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพราง
ความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ


                                                            หน้าที่ ๔๐๙

                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน  ...  ตติยฌาน  ...
จตุตถฌาน  ...  สุญญตวิโมกข์  ...  อนิมิตตวิโมกข์  ...  อัปปณิหิตวิโมกข์  ...  สุญญตสมาธิ  ...  อนิมิตต-
สมาธิ  ...  อัปปณิหิตสมาธิ  ...  สุญญตสมาบัติ  ...  อนิมิตตสมาบัติ  ...  อัปปณิหิตสมาบัติ  ...  วิชชา ๓
  ...  สติปัฏฐาน ๔  ...  สัมมัปปธาน ๔  ...  อิทธิบาท ๔  ...  อินทรีย์ ๕  ...  พละ ๕  ...  โพชฌงค์ ๗
  ...  อริยมรรคมีองค์ ๘  ...  โสดาปัตติผล  ...  สกทาคามิผล  ... อนาคามิผล  ...  อรหัตตผล ด้วยอาการ
๓ อย่าง  ...  ๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว
ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว  ...
โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว  ...
โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วย
อาการ ๓ อย่าง  ...  ๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าว
เท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว
จิตของภิกษุนั้นเปิดจากราคะ  ...  จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโทสะ  ...  จิตของภิกษุนั้นเปิดจากโมหะ
ด้วยอาการ ๓ อย่าง  ...  ๔ อย่าง ... ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง  คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า
จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพราง
ความเห็น ๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ
ต้องอาบัติถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า เครื่องยาอันเป็นปัจจัยของภิกษุไข้ของท่านอันภิกษุใดบริโภคแล้ว
ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌานในสุญญาคาร


                                                            หน้าที่ ๔๑๐

 ... ซึ่งทุติยฌานในสุญญาคาร  ...  ซึ่งตติยฌานในสุญญาคาร  ...  ซึ่งจตุตถฌานในสุญญาคาร ด้วย
อาการ ๓ อย่าง  ...  ๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าว
เท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ.
                                                                อุปโยควจนวาร ๕ หมวด
                ๑. ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายวิหารแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว
เข้าอยู่ เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...
๔ อย่าง ... ๕ อย่าง ... ๖ อย่าง ... ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว
ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น ๕ อำพรางความ
ถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายวิหารแล้ว ภิกษุนั้นเข้าแล้ว เข้าอยู่
เข้าได้แล้ว เป็นผู้ได้ เป็นผู้ชำนาญ ทำให้แจ้ง ซึ่งทุติยฌาน  ...  ตติยฌาน  ...  จตุตถฌาน  ...
สุญญตวิโมกข์  ...  อนิมิตตวิโมกข์  ...  อัปปณิหิตวิโมกข์  ...  สุญญตสมาธิ  ...  อนิมิตตสมาธิ  ...
อัปปณิหิตสมาธิ  ...  สุญญตสมาบัติ  ...  อนิมิตตสมาบัติ  ...  อัปปณิหิตสมาบัติ  ...  วิชชา ๓  ...
สติปัฏฐาน ๔  ...  สัมมัปปธาน ๔  ...  อิทธิบาท ๔  ...  อินทรีย์ ๕  ...  พละ ๕  ...  โพชฌงค์ ๗  ...
อริยมรรคมีองค์ ๘  ...  โสดาปัตติผล  ...  สกทาคามิผล  ...  อนาคามิผล  ...  อรหัตตผล ด้วยอาการ
๓ อย่าง  ...  ๔ อย่าง  ...  ๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ
๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จ ๓ ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ๔ อำพรางความเห็น
๕ อำพรางความถูกใจ ๖ อำพรางความชอบใจ ๗ อำพรางความจริง เมื่อคนอื่นเข้าใจ ต้องอาบัติ
ถุลลัจจัย เมื่อเขาไม่เข้าใจ ต้องอาบัติทุกกฏ
                ภิกษุรู้อยู่ กล่าวเท็จว่า ท่านอาศัยภิกษุใด ได้ถวายวิหารแล้ว ราคะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว  ...  โทสะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว  ...  โมหะ ภิกษุนั้นสละแล้ว
คายแล้ว ปล่อยแล้ว ละแล้ว สลัดแล้ว เพิกแล้ว ถอนแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง  ...  ๔ อย่าง  ...
๕ อย่าง  ...  ๖ อย่าง  ...  ๗ อย่าง คือ ๑ เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ ๒ กำลังกล่าว ก็รู้ว่า

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘