ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 27

Cycles and Forecasting” ของเขา (ซึ่งถือได้ว่าเป็นหนังสือเรียนอ้างอิงทางเศรษฐศาสตร์ ระดับชั้นนาในยุคของเขาเลยก็ว่าได้) โดยที่ Elmer ได้กล่าวไว้ดังนี้
“การเคลื่อนไหวของตลาดหุ้นในระยะกลางนั้น ไม่สามารถที่จะระบุช่วงเวลาได้อย่างแน่ชัด ดังนั้น เราจึงไม่สามารถที่จะรู้ได้ว่า เมื่อไหร่ที่ตลาดจะวิ่งขึ้นไปหรือพักตัวลงมา โดยสิ่งที่ Dunnigan เรียกว่า “การเก็งกาไรไปกับแนวโน้ม” (Trading with the trend) จึงอาจเป็นเพียงหลักการพยากรณ์ที่สาคัญเพียงอย่างเดียว ที่สมควรได้รับการสืบทอดต่อไป”
นอกจากนี้แล้ว ยังมีอีกบุคคลสาคัญผู้หนึ่ง ซึ่งถือได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกแนวคิดในการเก็งกาไร จากการกระทา “ตามแนวโน้ม” ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง เขาก็คือ Richard Donchian ผู้ซึ่งบทความ “Trend-Following Methods in Commodity Price Analysis” ของเขา ได้ปรากฏอยู่ในหนังสือประจาปีของตลาดสินค้าโภคภันฑ์ในปีค.ศ. 1957 นั่นเอง (Commodity Yearbook of 1957) โดยที่บทความของ Donchian นั้น เปี่ยมไปด้วยความมั่นใจ จากการที่ตัวเขาเองนั้นได้มีความรู้ความเข้าใจอย่างดี เกี่ยวกับสิ่งที่เขาเขียนมาอย่างยาวนาน นอกจากนี้แล้ว เขายังได้พัฒนาและนาประโยชน์ของการใช้เส้นค่าเฉลี่ย (Moving Average) และหลักของการเก็งกาไรจากแรงเหวี่ยงของราคา (Swing Trading) มาใช้อธิบาย เพื่อเป็นตัวอย่างของการใช้หลักการกระทา “ตามแนวโน้ม” เอาไว้อีกด้วย
เช่นเดียวกับสิ่งที่ Dunnigan ได้ทาเอาไว้ Donchain ได้อธิบายรายละเอียดลึกลงไป มากกว่าที่จะอธิบายถึงวิธีการใช้ระบบการลงทุน (Trading System) เพียงอย่างเดียว เขายังได้พูดถึงหลักแนวคิดและปรัชญญาเบื้องหลังพวกมันเอาไว้ด้วย และสิ่งที่เขาได้กล่าวเอาไว้เกี่ยวกับหลักของการกระทา “ตามแนวโน้ม” ก็ยังเป็นสิ่งที่เป็นจริงอยู่ในทุกวันนี้ โดยเขาได้กล่าวเอาไว้ว่า
“ระบบการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” ที่ดีทุกๆระบบนั้น ควรที่จะได้จากัดการขาดทุนเอาไว้ทุกๆครั้งโดยอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็นการซื้อหรือการขาย โดยที่ไม่จากัดถึงกาไรทีจะเกิดขึ้น”
และเขายังได้กล่าวอีกว่า..

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘