ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 26

เคลื่อนไหวของราคาอย่างต่อเนื่อง” (Continuous Forecasting) จนกว่าที่การเคลื่อนไหวของราคาจะเข้าสู่ช่วง “กับดัก” (Trap) อีกครั้งหนึ่ง (**เพื่อเป็นการระบายหุ้นหรือเปลี่ยนทางเล่น)
เมื่อถึงขณะนี้ คาถามที่เกิดขึ้นก็คือ สิ่งที่เขาสร้างขึ้นมาดูเหมือนว่าจะเป็นแบบจาลองของตลาดเสียมากกว่าการทาการพยากรณ์ เนื่องจากมันดูเหมือนว่า เขาจะทาการตรวจสอบสภาพตลาดไปเรื่อยๆจนกว่าจะเกิดสัญญาณขึ้นมาอีกครั้ง ดังนั้น การพยากรณ์เกี่ยวกับตลาดนั้นยังเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับเขาอยู่หรือ? คาตอบก็คือ ที่สุดแล้วในปีค.ศ. 1954 เขาได้ได้เขียนหนังสือที่ชื่อว่า “New Blueprints for Gains in Stocks and Grains” ขึ้นมา และนี่คือสิ่งที่เขาได้สรุปเอาไว้ และมันช่วยให้เราได้เข้าใจในสิ่งที่เป็นปรัชญาของการกระทา “ตามแนวโน้ม” ในช่วงแรกๆอย่างชัดเจนที่สุดออกมา
“เราคิดว่าการพยากรณ์นั้น ควรที่จะถูกใช้ในความหมาย ของการทาการวัดถึงทิศทางของแนวโน้มที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน แล้วจึงนาการวิเคราะห์ตามกฏของแรงเฉื่อย (Law of Inertia – Momentum) มาประยุกต์ใช้ เพื่อเป็นการรับประกันว่า มันมีความน่าจะเป็นที่มากกว่า ในการที่แนวโน้มที่กาลังเกิดขึ้นจะดาเนินต่อไป ภายในช่วงระยะเวลาหนึ่ง (Unknown Period of time) ในอนาคต โดยนี่คือสิ่งที่เรียกว่า หลักของการกระทา “ตามแนวโน้ม” ซึ่งทาให้เราไม่จาเป็นต้องพึ่งพาศาสตร์ลึกลับ หรือการมองหาลูกแก้ววิเศษที่จะช่วยให้เราหยั่งรู้อนาคตออกมาได้”
นอกจากนี้เขายังได้เขียนเอาไว้อีกว่า
“ขอให้พวกเราเชื่อเถิดว่า มันเป็นไปได้ที่เราจะทากาไรจากสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป จากการกระทา “ตามแนวโน้ม” ของปัจจุบัน จากการที่ตลาดจะค่อยๆเปิดเผยมันออกมา วันต่อวัน,อาทิตย์ต่ออาทิตย์ และเดือนต่อเดือน โดยในการที่จะทาเช่นนี้ได้ พวกเราไม่ควรที่จะยึดติด และพยายามหลีกเลี่ยงการคาดการณ์ล่วงหน้า เช่นว่า สภาวะธุรกิจในอนาคตจะรุ่งเรืองหรือถดถอย หรือดัชนีดาวโจนส์จะวิ่งไปที่เท่าไหร่ สิ่งที่เราต้องทาคือการมองไปที่กราฟ แล้วแล่นเรือของเราไปตามทิศทางที่ลมได้พัดมา โดยเมื่อไหร่ที่สภาวะของเศรษฐกิจได้เปลี่ยนแปลงไปนั้น เราก็จะทาการเปลี่ยนแปลงการกระทาของเราไปตามมัน และจะไม่พยายามที่จะพยากรณ์ว่า ลมจะเปลี่ยนทิศเมื่อไหร่และในสถานที่แห่งใด”
ถึงแม้ในทุกๆวันนี้ William Dunnigan จะยังคงเป็นนักวิจัยและค้นคว้า เกี่ยวกับการเก็งกาไรที่ถูกหลายๆคนมองข้ามไป แต่เขาก็ถือได้ว่าเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องอย่างสูง ไม่เว้นแม้กระทั่งเหล่านักวิชาการทางเศรษฐศาสตร์ในยุคของเขาเอง ยกตัวอย่างเช่น จากการที่ Elmer Clark Bratt กล่าวถึงสิ่งที่ Dunnigan เขียนในบทความ “Trading with the Trend” ซึ่งอยู่ในงานเขียนเชิงวิชาการ “Bussiness

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘