ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 25

“สิ่งที่ Mills และ Lowry ใช้นั้น (ผู้คิดค้นวิธีการ Mansfield Mills’s Buying and Selling Curve) ยังคงเป็นเครื่องมือในการช่วยเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” ซึ่งมีข้อดีและข้อเสียของมัน”
เขากาลังหมายถึงสิ่งที่มีความหมายในเชิงของการกระทา “ตามแนวโน้ม” ที่ล่าช้าไปจากความจริง (Trend-Lagging) ยกตัวอย่างเช่น การรอให้เส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ได้ยกหัวชี้ขึ้นมา ทั้งที่แนวโน้มได้เกิดขึ้นไปแล้ว หรือเราอาจพูดได้ว่า แท้จริงแล้วในขณะนั้น แนวคิดของการกระทา “ตามแนวโน้ม” อาจยังไม่ได้เกิดขึ้นเป็นรูปเป็นร่างอย่างสมบูรณ์ก็ได้
อย่างไรก็ตาม ในเวลาต่อมานั้นเราอาจที่จะพูดได้ว่า บุคคลผู้ซึ่งเป็นผู้ประติดประต่อแนวคิดของการกระทา “ตามแนวโน้ม” ให้เกิดเป็นรูปเป็นร่างขึ้นในเวลาต่อมานั้น ก็คือ William Dunnigan นักเก็งกาไร, ผู้เชี่ยวชาญการวิเคราะห์ทางเทคนิค และเจ้าของธุรกิจการพยากรณ์แนวโน้มของธุรกิจ ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองพาโล อัลโต รัฐแคลิฟอร์เนียในช่วงปีค.ศ. 1950 นั่นเอง เขาได้เขียนหนังสือเอาไว้อยู่หลายเล่ม โดยเริ่มต้นจากงานเขียนที่ออกไปในเชิงวิชาการเป็นอย่างมาก นั่นก็คือ “Forecasting the Monthly Movement of Stock Prices” ในปีค.ศ. 1930 และตามมาด้วยหนังสือที่ออกมาในเชิงของการวิเคราะห์ทางเทคนิคอย่าง “Trading With the Trend” ในปีค.ศ. 1934 และอีกหลายๆเล่มซึ่งมีความสาคัญในช่วงปีค.ศ. 1950
บางทีแล้ว Dunnigan อาจเป็นที่รู้จักกันอย่างมากที่สุดจากแนวคิดของระบบการลงทุน “Thrust System” และ “One-way System” ของเขา อย่างไรก็ดี มุมมองของเขาที่มีต่อตลาดหุ้นนั้น ก็มีความกว้างขวางและลึกซึ้งเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ เขายังได้ผู้ที่ให้กาเนิดคาและสานวนในการเก็งกาไรอย่างมากมาย ยกตัวอย่างเช่น “การพยากรณ์ในขอบเขตของกับดักราคา” (Trap Forecasting) และ “การพยากรณ์การเคลื่อนไหวของราคาอย่างต่อเนื่อง” (Continuous Forecasting) ซึ่งเขาได้นามันมาใช้เพื่อเป็นการแยกแยะ ระหว่างรูปแบบการเก็งกาไรที่มีจุดมุ่งหมายในการทากาไรอย่างรวดเร็ว (ทากาไรจากการเคลื่อนไหวในกรอบหรือ “กับดัก” ของราคา) และรูปแบบการเก็งกาไรซึ่งจะไม่ทาการระบุถึงระยะเวลาในการถือครองอย่างชัดเจน โดยที่ระดับราคาในการขายนั้น จะถูกตัดสินใจจากการเคลื่อนไหวของราคาแบบวันต่อวัน ขึ้นอยู่กับสิ่งที่ตลาดแสดงออกมานั่นเอง
จากมุมมองซึ่งเขาได้ทาการแยกแยะสภาพของตลาดออกมาเช่นนี้ จึงทาให้แนวคิดของการกระทา “ตามแนวโน้ม” ถูกนามาใช้ได้อย่างไม่ยากเย็นนัก โดยที่เมื่อตลาดได้เปลี่ยนจากสภาวะกรอบราคาหรือ “กับดัก” (Trapped) ไปสู่ระดับราคาหนึ่ง ซึ่งได้ถูกยอมรับและกาหนดเอาไว้ เช่น ระดับซึ่งเกิดการ “ทะลุ” แนวรับ-แนวต้านของราคา (Breakout) เขาจะเปลี่ยนมาใช้ระบบของ “การพยากรณ์การ

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘