ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 24

นอกจากนี้ ยังมีรายงานบางฉบับที่น่าสนใจอีกเช่นเดียวกัน นั่นก็คือบทความซึ่งถูกตีพิมพ์ลงในนิตยสาร Fortune ในปี 1949 ชื่อว่า “Fashions in Forecasting” โดย Alfred Winslow Jones (ไช่แล้ว! เขาคือผู้บุกเบิกแนวคิด และก่อตั้งกองทุนปกป้องความเสี่ยงที่เรียกว่า Hedge Fund เป็นคนแรกของโลกนั่นเอง) โดยที่ในบทความนี้ เขาได้ทาการวิเคราะห์ถึงแนวทางการพยากรณ์ตลาดหุ้นในรูปแบบต่างๆเอาไว้ ยกตัวอย่างเช่น วิธีการ Mansfield Mills’s Buying and Selling Curve, ทฤษฏีดาว (Dow Theory) และแนวทางอื่นๆซึ่งมีธรรมชาติของการกระทา “ตามแนวโน้ม” เอาไว้ โดยที่ได้ให้คาอธิบายถึงการยอมรับต่อหลักของการกระทา “ตามแนวโน้ม” เอาไว้ว่า “แรงผลักดันที่เกิดขึ้นจากความโน้มเอียงทางจิตวิทยา คือข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นอย่างไม่มีข้อสงสัย” และเขายังได้อธิบายถึงกระบวนการของมัน ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับทฤษฏี “กระจกสะท้อน” (Reflexivity Theory) ของ Goerge Soros เป็นอย่างมากเอาไว้ดังนี้
“เมื่อการเคลื่อนไหวของตลาดหุ้นได้ดาเนินไปนั้น มันจะค่อยๆก่อให้เกิดมุมมองที่ไม่สมจริงในจิตใจ ของผู้ที่มีส่วนร่วมอยู่ในตลาดให้เกิดขึ้น ทั้งในแง่ที่ดีเกินไปและร้ายเกินไปขึ้นมา เป็นผลทาให้แนวโน้มของราคาที่กาลังดาเนินไปอยู่นั้น ได้เคลื่อนไหวผันผวนออกจากมูลค่าที่แท้จริงของมัน หลังจากนั้น มันจะหยุดนิ่งหรือค่อยๆวกกลับ จากการทากาไรของผู้ที่มีกาไรอยู่ หรือผู้ที่คอยช้อนซื้อของถูกนั่นเอง และเมื่อสมดุลย์ของแรงอุปสงค์-อุปทานเหล่านี้ได้เปลี่ยนไป ลูกตุ้มนาฬิกาของตลาดหุ้นก็จะเริ่มวิ่งย้อนกลับไป จนเลยผ่านมูลค่าที่แท้จริงของมันอีกครั้ง และไปสิ้นสุดลงตรงไหนสักแห่ง เป็นวัฏจักรอย่างนี้ไปเรื่อยๆ”
ดังนั้น มันจึงเป็นสิ่งที่คุ้มค่า ในการที่เราจะทาการตัดสินใจกระทาบางอย่าง เมื่อแนวโน้มของมันได้เริ่มวกกลับจนถึงระดับหนึ่ง (เมื่ออ้างอิงจากทฤษฏีดาวนั้น มันคือจุดสูงสุด-จุดต่าสุด หรืออาจเป็นการทะลุผ่านเส้นค่าเฉลี่ยหรือเส้นแนวโน้มก็เป็นได้) จากสมมุติฐานที่ว่า แนวโน้มที่เกิดขึ้นมาใหม่นั้นจะดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง และมีนัยสาคัญเพียงพอที่จะกระทาตามมันไป”
นอกจากนี้ ยังมีข้อสังเกตุที่น่าสนใจอีกบางประการ เนื่องจากตัวของ Jones นั้น ได้ใช้คาว่า “นักเก็งกาไร/ลงทุน ตามแนวโน้ม” (Trend Follower) และ “การกระทาตามแนวโน้ม” (Trend Following) อย่างตรงไปตรงมาในบทความของเขา อย่างไรก็ดี ความหมายที่เขาใช้นั้น ค่อนข้างที่จะแตกต่างไปจากความหมายที่พวกเราได้ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น เมื่อเขากล่าวว่า :

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘