ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 23

การตระหนักถึงหลักของการกระทา “ตามแนวโน้ม”
นอกจากงานเขียนของ Edwards กับ Magee, Livermore และนักเก็งกาไรคนอื่นๆนั้น ในช่วงปีค.ศ. 1930 – 1940 มีงานผลงานและหลักฐานเกี่ยวกับทฤษฏีของการกระทา “ตามแนวโน้ม” เกิดขึ้นมาอย่างมากมาย หนึ่งในงานวิจัยที่น่าสนใจนั้น มาจากการวิจัยของสถาบันวิจัย Cowles Commission for Economic ในปีค.ศ. 1937 (ในปัจจุบันคือ Cowles Foundations at Yale University) ซึ่งถูกร่วมเขียนเอาไว้โดย Alfred Cowles ที่ 3 (ผู้ก่อตั้งสถาบัน) และ Herbert E Jones โดยที่ผลงานวิจัยชิ้นนี้ ได้ทาการค้นคว้าถึงความน่าจะเป็นที่จะเกิดความต่อเนื่อง จากการเคลื่อนไหวขึ้น-ลงของตลาดหุ้นในคาบเวลาต่างๆเอาไว้ โดยทาการวิจัยไปเรื่อยๆทีละคาบเวลา ตั้งแต่ช่วงระหว่าง 20 นาทีจนถึง 7 เดือน โดยได้ให้ข้อสรุปเอาไว้ว่า
“มันมีความโน้มเอียง ที่ตลาดจะเกิดการเคลื่อนไหวในทิศทางที่ต่อเนื่อง จากทิศทางในคาบเวลาก่อนหน้า” หรือพูดอย่างง่ายๆว่า การเคลื่อนไหวของตลาด มีความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกัน อย่างน้อยก็จากคาบเวลาหนึ่งสู่คาบเวลาถัดไป นอกจากนี้ มันยังมีช่วงเวลาที่ตลาดไม่มีแนวโน้มที่ชัดเจน และมีช่วงเวลาบางช่วงซึ่งมีความเหมาะสม ที่จะนาแนวคิดในการเก็งกาไรซึ่งในปัจจุบันเรียกกันโดยทั่วไปว่า “การเก็งกาไรตามแนวโน้ม” มาใช้ได้ ซึ่งโดยสรุปแล้วงานวิจัยชิ้นนี้ได้ระบุเอาไว้ว่า
“จากหลักฐานซึ่งแสดงให้เห็นถึงโครงสร้างของการเคลื่อนไหวของราคาหุ้นนั้น จึงอาจทาให้เกิดความน่าสนใจ ในการที่จะพยายามพยากรณ์ถึงความเคลื่อนไหวของตลาดหุ้น ซึ่งความจริงแล้ว นักเก็งกาไรมืออาชีพหลายๆคน รวมไปถึงนักเก็งกาไรผู้ที่คอยให้การสนับสนุนแก่ “ทฤษฏีดาว” ซึ่งได้เผยแพร่แนวคิดของพวกเขา ผ่านวารสารทางการเงินหลายๆฉบับอย่างแพร่หลายนั้น ต่างได้นาเอามันมาปรับใช้กับระบบการลงทุนของพวกเขาไว้บ้างแล้ว จากความเชื่อที่ว่า มันมีความได้เปรียบมากกว่า ที่จะว่ายไปกับกระแสน้านั่นเอง”

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘