ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 21

ตานานแห่งยอดนักเก็งกาไร Jesse Lauriston Livermore
ผมขอย้อนกลับมาพูดถึง Jesse Livermore อีกครั้ง โดยหลักฐานเกี่ยวกับรายละเอียดในการเก็งกาไรของเขานั้น ส่วนใหญ่ได้ถูกเขียนบันทึกเอาไว้ในบทความของ Edwin Lefevre และหนังสือที่ชื่อว่า “How to Trade in Stocks” ที่ตัวของเขาได้เขียนเอาไว้เองในช่วงปีค.ศ. 1940 โดยในช่วงเริ่มต้นการเก็งกาไรของ Livermore นั้น เราพบว่าเขามีความเป็นนักเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” อยู่ในระดับหนึ่ง จากการที่เขาจะเริ่มต้นเข้าซื้อทีละน้อย โดยจะ “ทยอยเข้าซื้อเพิ่ม” เมื่อราคาได้วิ่งไปในทางที่เขาคาดหวังเอาไว้เท่านั้น และเขาจะทาการขายมันทิ้งอย่างรวดเร็ว หากมันไม่เป็นไปอย่างที่เขาคิด (เขาได้รับแนวคิดที่สาคัญนี้จาก Dickson Watts ในปีค.ศ. 1891)
เขายังเป็นนักเก็งกาไรที่ตัดสินใจซื้อ-ขายเมื่อราคาวิ่ง “ทะลุ” แนวรับ-ต้านของมันอย่างชัดเจน โดยเขาได้กล่าวเอาไว้ว่าธรรมชาติในการเคลื่อนไหวของราคาของหุ้นนั้น มักที่จะวิ่งขึ้น-ลงอยู่ในกรอบราคาของมัน โดยเมื่อเวลาได้ผ่านไปสักพักหนึ่ง แรงซื้อหรือแรงขายจะเริ่มมีความแข็งแกร่งที่มากขึ้น และราคาจะเริ่มวิ่ง “ทะลุ” กรอบของมันอีกครั้ง และเมื่อราคาได้วิ่งทะลุกรอบของมันไป เขาจะเรียกมันว่า “ทิศทางที่มีแรงต่อต้านน้อยที่สุด” (Line of the least resistant) ซึ่งเขาได้กล่าวไว้ในภายหลังอีกว่า “เมื่อทิศทางที่มีแรงต่อต้านน้อยที่สุด ได้กลายเป็นที่ยอมรับแล้ว ผมจะทาตามมัน”
หลังจากนั้นในปีค.ศ. 1940 นั้น เราพบว่าในช่วงเวลานั้น เราสามารถที่จะระบุได้อย่างชัดเจนว่า เขาได้กลายเป็นนักเก็งกาไรตามแนวโน้มได้อย่างเต็มตัว จากหลักฐานที่เขาได้เขียนไว้ในหนังสือ “How to Trade in Stocks” ของเขา โดยเขาได้เน้นย้าถึงประโยชน์ของการใช้สัญญาณการเข้าซื้อ-ขาย จากการวิเคราะห์ถึงแนวโน้มที่เกิดขึ้นในตลาด โดยในตอนหนึ่งของหนังสือนั้น เขาได้ใช้คาว่า “กระทาตามแนวโน้ม” (Following the trend) ไว้อย่างตรงไปตรงมาดังนี้ :
“มันอาจน่าประหลาดใจสาหรับหลายๆคน เมื่อพวกเขาได้รู้ถึงแนวทางการเก็งกาไรของผม นั่นก็คือ เมื่อผมพบว่าสิ่งที่ผมได้จดบันทึกเอาไว้ ได้บ่งชี้ว่าแนวโน้มกาลังเกิดขึ้น ผมจะเริ่มเข้าซื้ออย่างรวดเร็วที่สุด เมื่อราคาได้ทาจุดสูงสุดของราคาใหม่อีกครั้ง หลังจากที่มันได้พักตัวลงมาอย่างปกติ และนี่คือสิ่งที่ผมได้ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ที่ผมจะทาการขายเช่นกัน ทาไมน่ะหรือ? เนื่องจากผมจะกระทาตาม

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘