ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 20

สาหรับหนังสือเล่มที่สามนั้น คือหนังสือ “Studies in Tape Reading” ซึ่งเขียนไว้โดย Richard D. Wyckoff ในปีค.ศ. 1910 (หนังสือได้ระบุว่านามปากกาของผู้แต่งคือ Rollo Tape อย่างไรก็ตามในเวลาต่อมา Wyckoff ได้ออกมายอมรับว่าเป็นงานเขียนของเขาเอง) สิ่งที่น่าสนใจก็คือ เขาได้ใช้คาว่า “ตามแนวโน้ม” (Follow the Trend) เมื่อได้เล่าถึงเรื่องของ Jacob Field เจ้าของฉายา “เจ้าชายแห่งการเก็งกาไรระยะสั้น” (Prince of the Floor Trader) แต่ก็ไม่ได้ลงรายละเอียดเกี่ยวกับแนวทางและปรัชญาการเก็งกาไรของเขามากนัก อย่างไรก็ตาม หลังจากนั้นไม่นาน ตัวของ Wyckoff เองได้โน้มเอียงไปในแนวทางของการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” อย่างชัดเจน โดยหลักฐานที่สาคัญอย่างหนึ่งก็คือ เขาได้ทาการตีพิมพ์วารสารที่ชื่อว่า “จดหมายเหตุของแนวโน้ม” (Trend letter) และในงานเขียนชิ้นหลังๆของเขา เขาก็ยังได้ยกตัวอย่างคุณลักษณะของนักเก็งกาไรตามแนวโน้ม โดยการเปรียบเปรยเอาไว้ว่า “นักเก็งกาไรรายย่อยนั้น ควรที่จะทาตัวเหมือนนักโบกรถ”
อย่างไรก็ตาม เขาดูไม่ค่อยจะเห็นด้วย ในการที่จะใช้การวิเคราะห์กราฟในการเก็งกาไรเสียเท่าไหร่ โดยเขาได้กล่าวเอาไว้ว่า “ผมขอให้ทุกๆคนที่คิดว่าสามารถทากาไรจากการอ่านกราฟ ได้ทดลองโดยการให้เพื่อนของคุณเตรียมกราฟเหล่านี้เอาไว้ โดยปิดไม่ให้รู้ชื่อและช่วงเวลาของกราฟในขณะนั้นเอาไว้ แล้วทาการกาหนดกฏในการซื้อ-ขายเอาไว้เพื่อที่จะทาตามมันอย่างเคร่งครัด เพื่อไม่ให้เกิดการเดาสุ่มขึ้น หลังจากนั้น ให้เอากระดาษปิดทับไว้ทางด้านขวาของกราฟ แล้วค่อยๆเลื่อนกระดาษไปเรื่อยๆที่ละวันๆ แล้วทาการจดบันทึกการซื้อ-ขายและผลกาไรที่เกิดขึ้นตามกฏให้เหมือนจริงที่สุด เมื่อทาเสร็จแล้ว ให้ส่งจดหมายมาถึงเขา (Rollo Tape) เพื่อแสดงให้เห็นว่า พวกเขาได้เสียเงินไปเท่าไหร่”
ในทุกวันนี้ วิธีการที่ Wyckoff ได้เขียนเอาไว้นั้น สามารถที่จะกระทาและทดสอบได้อย่างรวดเร็วจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป จนตัวของเขาอาจจะต้องทึ่งเป็นอย่างมากก็ได้ (** ในปัจจุบันมีหลักฐานและรายงานหลายชิ้นซึ่งแสดงให้เห็นว่า มันมีความเป็นไปได้ที่จะทากาไรในระยะยาว หรือเอาชนะตลาดจากการทาการซื้อ-ขายตามระบบเช่นนี้) คาถามก็คือ ความเห็นของเขาได้เปลี่ยนไปบ้างไหม จากวันที่เขาได้กล่าวประโยคข้างบนเอาไว้ คาตอบก็คือ “อาจเป็นไปได้” เนื่องจากเราพบว่าหลายปีหลังจากนั้น Wyckoff ได้ใช้การเขียนเส้นแนวโน้มลงไปในกราฟเหล่านี้ โดยตัวเขาเองได้เรียกมันว่า “เส้นของแนวรับหรือเส้นอุปสงค์” โดยทาการลากจากจุดต่าสุดหรือจุดสูงสุดที่มีนัยสาคัญนั่นเอง

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘