ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 18

Edwards ได้เขียนเอาไว้ในหนังสือของเขาว่า “กาไร เกิดจากความสามารถที่เรา จะใช้ประโยชน์จากแนวโน้มทั้งขาขึ้นและลง โดยการกระทาตามมันไป จนกว่ามันจะเปลี่ยนทิศทาง” (Profits are made by capitalizing on up or down trends, by following the until they are reversed)… ไช่แล้ว! เราจะสังเกตุเห็นได้ว่า คาว่า “แนวโน้ม” (Trends) และ “ตาม” (Follow) ได้ถูกเขียนเอาไว้ห่างกันเพียงไม่กี่คาในประโยค นี่คือหลักฐานและสิ่งที่บ่งชี้ถึง ปรัชญาของการกระทา “ตามแนวโน้ม” ได้ถูกพัฒนาและเพิ่มเติมรายละเอียดของมันขึ้นมาในช่วงเวลานี้
ในขณะนี้ โดยเบื้องต้นแล้ว เครื่องมือในการวิเคราะห์ทางเทคนิคขั้นพื้นฐานของ Schabacker, Gartley, Edwards และ Magee นั้นก็คือสิ่งที่เรียกว่า “เส้นแนวโน้ม” (Trend Line) นั่นเอง โดยมันคือเส้นที่ถูกลากและเชื่อมต่อ จากจุดต่าสุดหรือจุดสูงสุดที่มีนัยสาคัญ (อ้างอิงจากทฤษฏีดาว) โดยที่สัญญาณการซื้อ-ขายนั้น จะถูกกาหนดจากการทะลุหรือการละเมิด (Breaking) เส้นแนวโน้มที่ได้ถูกลากเอาไว้ (มันคือการต่อยอดจากแนวคิดของทฤษฏีดาว ซึ่งจะให้สัญญาณการซื้อ-ขาย เมื่อราคาได้เคลื่อนผ่านระดับราคาซึ่งถือเป็นแนวรับ-ต้านซึ่งมีนัยสาคัญ) โดยที่ Schabacker ได้เขียนเอาไว้ว่า
“เส้นแนวโน้มนั้น คือเครื่องมือที่ให้ประโยชน์สาคัญสองอย่าง นั่นก็คือ เมื่อมันยังไม่ถูกละเมิด จะถือได้ว่ามันคือเครื่องช่วยยืนยันการดาเนินต่อไปของแนวโน้ม แต่หากว่ามันถูกละเมิดข้ามมาเมื่อไหร่นั้น มันคือสิ่งที่จะช่วยบอกถึงความน่าจะเป็น ถึงการกลับตัวของแนวโน้มที่กาลังดาเนินอยู่ และบ่งชี้ให้เราเริ่มทาการระบุถึงแนวโน้มใหม่ที่กาลังเกิดขึ้น แล้วลืมเส้นแนวโน้มเก่าไปเสีย”
แน่นอนว่าข้อดีของแนวคิดที่ถูกพัฒนาต่อยอดขึ้นมานี้ ก็คือการช่วยให้เราสามารถระบุถึงความน่าจะเป็น ในการกลับตัวของแนวโน้มได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ข้อเสียของมันก็คือการที่เรามีโอกาสเกิดความผิดพลาด (Whipsaw) ในการระบุถึงการเปลี่ยนแปลงของแนวโน้มที่มากขึ้นเช่นกัน
ในขณะนี้นั้น คาถามต่อมาก็คือ แท้จริงแล้วทั้ง Schabacker, Edwards และ Magee นั้น คือผู้ที่มีส่วนมากแค่ไหนในการพัฒนาแนวทางหรือกลยุทธ์เหล่านี้ขึ้นมา หรือว่าแท้จริงแล้ว มันได้ถูกใช้จากเหล่านักเก็งกาไรในยุคนั้นมาก่อนหน้านั้นมากแค่ไหน? และนี่ก็คือคาบอกใบ้ที่ได้ถูกเปิดเผยไว้โดย Edwards โดยเขาได้กล่าวเอาไว่ว่า “ความจริงแล้ว ผู้ที่เชี่ยวชาญการวิเคราะห์ทางเทคนิคนั้น ก็คือผู้ที่คอยฝึกฝนลากเส้นแนวโน้มในรูปแบบต่างๆอยู่อย่างสม่าเสมอ” และนี่คือสิ่งที่บอกกับเราว่า ความจริงแล้วเส้นแนวโน้มนั้น ได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในหมู่นักเก็งกาไรหลายๆคน ก่อนที่พวกเขาจะได้เขียนหนังสือเล่านี้เสียด้วยซ้า
อันที่จริงแล้ว แนวคิดในการลากเส้นจากจุดที่มีนัยสาคัญในกราฟนั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปจนอาจสันนิฐานได้ว่า มันอาจเกิดขึ้นตั้งแต่มนุษย์ได้สร้างและเรียนรู้ที่จะใช้กราฟขึ้นมาตั้งแต่แรกแล้วก็

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘