ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 16

“จงทาการซื้อ เมื่อราคาเคลื่อนไหวทะลุขึ้นไปมากกว่าจุดสูงสุดเดิม และจงทาการขาย เมื่อราคาเคลื่อนไหวทะลุลงไปต่ากว่าจุดต่าสุดเดิม”
แน่นอนว่ายังมีกฏและรายละเอียดปลีกย่อยอีกบางส่วน เกี่ยวกับปริมาณการซื้อขายและสัญญาณการยืนยันแนวโน้ม แต่หากมองไปที่แก่น หรือกระดูกสันหลังของมันแล้ว ประโยคข้างต้นก็ถือว่าเพียงพอในการที่จะนาไปใช้ในเบื้องต้นแล้ว (คุณควรทราบด้วยว่า หลักการนี้สามารถที่จะนาไปประยุกต์ใช้ กับการเก็งกาไรในตราสารต่างๆได้อย่างไม่จากัด รวมไปถึงการใช้มันกับเส้นค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่เช่นกัน)
สาหรับทฤษฏีดาวนั้น ตัวผมเองเชื่อว่า มันคือทฤษฏีที่แสดงออกถึงลักษณะของการใช้หลักการกระทา “ตามแนวโน้ม” อย่างเป็นระบบในยุคปัจจุบันเป็นครั้งแรก ตราบเท่าที่เราสามารถที่จะระบุได้ว่า อะไรคือสิ่งที่เราเรียกมันว่าจุดสูงสุด หรือจุดต่าสุดที่มีนัยสาคัญออกมาได้อย่างชัดเจน (สัญญาณการเข้าซื้อ และการขายออกมาตามแนวโน้มที่เกิดขึ้น) นอกจากนี้ เรายังสามารถที่จะนาแนวคิดของมัน ยังสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้อย่างยืดหยุ่นอีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น เราสามารถเลือกใช้ระดับของการทะลุแนวรับ-ต้านที่มีนัยสาคัญแตกต่างกันไป หรือเราอาจนามันมาใช้กับเส้นค่าเฉลี่ยก็ได้เช่นกัน อันที่จริงแล้ว เราสามารถที่พูดได้ว่า ทฤษฏีดาวนั้น ก็คือต้นกาเนิดของแนวทางการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” นั่นเอง ยิ่งไปกว่านั้น เรายังอาจที่จะสามารถพูดได้ว่า แนวทางต่างๆที่เกิดขึ้นมาในยุคต่อๆมานั้น ก็คือการนาแก่นของทฤษฏีดาวมาพัฒนาและปรับปรุงต่อยอดออกมานั่นเอง

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘