ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 15

ทาให้ผมเห็นว่าแท้จริงแล้ว แนวทางการเก็งกาไรจากการวิเคราะห์ทางเทคนิค ซึ่งรวมไปถึงการใช้หลักของการกระทา “ตามแนวโน้ม” นั้น จึงเกิดขึ้นเพราะความจาเป็นเหล่านี้ แต่มิใช่ความต้องการที่จะเลือกใช้มันตั้งแต่เริ่มต้นอย่างที่เข้าใจกัน
การเข้าถือครองและออกจากการลงทุนอย่างเป็นระบบ
อีกสิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัด จากการเก็งกาไรในยุคศตวรรษที่ 19 นั้นก็คือ โดยสภาพแล้ว มันยังเต็มไปด้วยการปฏิบัติและทดลอง แต่ขาดแคลนทางด้านทฤษฏีที่เป็นระบบแบบแผน สิ่งที่เป็นที่ต้องการก็คือ แนวทางที่จะสามารถช่วยให้เราสามารถหนีออกมาจากความชุลมุน เพื่อทาการสังเกตุการกระทาต่างๆของตลาด ในระยะที่ทาให้เราสามารถวิเคราะห์ถึงสิ่งต่างๆได้อย่างเป็นกลางและไม่ลาเอียง เพื่อพิจารณาถึงธรรมชาติของการเคลื่อนไหวของราคา ในคาบเวลาต่างๆไม่ว่าจะเป็นภายในช่วงวัน, เดือนหรือปีนั่นเอง
นี่คือสิ่งที่ช่วยให้เราสามารถตอบคาถามต่างๆได้ดียิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงที่ผ่านมานั้น มีรูปแบบการเคลื่อนไหวบางอย่างที่ซ่อนอยู่ในการขึ้นและลงของราคาหุ้นบ้างหรือไม่? แล้วความรู้ที่เราได้จากการวิเคราะห์ถึงรูปแบบการเคลื่อนไหวของราคาเหล่านี้ จะช่วยหรือกลายมาเป็นพื้นฐานสาหรับการเก็งกาไรในตลาดของเราได้หรือไม่? มีทฤษฏีอะไรบ้างไหม ที่อาจสามารถนามาใช้อ้างอิง เพื่อเป็นโครงสร้างพื้นฐาน ในการที่จะกระทาสิ่งต่างๆ “ตามแนวโน้ม” ที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ?
ความจริงแล้ว ในช่วงเวลานี้ แนวคิดหรือแบบจาลองที่ว่า ก็ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาบ้างก่อนหน้านี้ไม่นานนัก ถึงแม้ว่ามันจะยังไม่สมบูรณ์สักเท่าไหร่ก็ตาม นั่นก็คือ ทฤษฏีดาวน์นั่นเอง มันคือแนวคิดซึ่งเริ่มต้นขึ้นมาจากนักหนังสือพิมพ์คนหนึ่ง ซึ่งชื่อของเขาก็คือ Charles H. Dow โดยเขาได้เขียนบทความหลายๆชิ้นเกี่ยวกับเรื่องนี้เอาไว้ในหนังสือพิมพ์ “Wall Street Journal” ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1899 – 1902 และถูกนามาค้นคว้าเพิ่มเติมโดย William Hamilton ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 1903 – 1929 จนท้ายที่สุดนั้น มันได้ถูกขัดเกลาและสรุปออกมาโดย Robert Rhea ในปี 1932 นั่นเอง
“ทฤษฏีดาวน์” (Dow Theory) ได้ให้ความหมายของตลาดกระทิงเอาไว้ว่า มันคือตลาดที่มีการเคลื่อนไหวของราคา ซึ่งมีจุดต่าสุดและจุดสูงสุดสูงขึ้นเรื่อยๆ ในทางกลับกันตลาดหมีนั้น ก็คือตลาดที่มีการเคลื่อนไหวของราคา ซึ่งมีจุดต่าสุดและจุดสูงสุดต่าลงเรื่อยๆนั่นเอง และนี่เป็นครั้งแรกที่หลักการขั้นพื้นฐาน ของการกระทา “ตามแนวโน้ม” ได้ปรากฏขึ้นอย่างชัดเจน นั่นก็คือ :

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘