ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 14

สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนอย่างหนึ่งก็คือ ไม่มีนักเขียนคนใดที่ได้ระบุถึงวิธีการ ในการใช้หลักของการกระทา “ตามแนวโน้ม” เอาไว้เป็นระบบอย่างชัดเจน และถึงแม้ว่า Fowler จะได้บันทึกเกี่ยวกับวิธีการเก็งกาไรของ Pat Hearne เอาไว้เล็กน้อย เกี่ยวกับวิธีการที่เขาค่อยๆทยอยเข้าซื้อหุ้นเพิ่มทุกๆครั้ง เมื่อราคาของมันเคลื่อนที่ขึ้นไป 1% และทาการขายมันออกมาทั้งหมดเมื่อมันตกลงมา 1% หรือรวมไปถึงการที่ Clews ได้เขียนตาแนะนาของเขาเอาไว้ในหนังสือ “Twenty-eight Years” เกี่ยวกับรูปแบบการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” ในขั้นพื้นฐาน โดยเขาได้ให้คาแนะนาสาหรับนักเก็งกาไรรุ่นใหม่ๆ ว่าควรที่จะสังเกตุถึงพฤติกรรมของนักเก็งกาไร ที่ประสบความสาเร็จในรุ่นก่อนๆ ว่ามักที่จะถอยห่างออกไปจากตลาดไกลพอสมควร ซึ่งเป็นผลมาจากประสบการณ์ที่โชกโชนของพวกเขาในตลาด ซึ่งมักที่จะออกจากบ้านมาทาการซื้อ-ขายหุ้นเพียงไม่กี่ครั้งในหนึ่งปี โดยการเข้ามาขายหุ้นเมื่อตลาดคึกคะนองอย่างถึงที่สุด และเข้ามาทาการซื้อหุ้นเมื่อเกิดการตื่นตระหนกขึ้นในตลาด โดยเขาได้เขียนเอาไว้ว่า
“ผมมักที่จะบอกกับนักเก็งกาไรรุ่นใหม่ๆว่า พวกเขาควรที่เฝ้าสังเกตุลางบอกเหตุ จากการกลับเข้ามาในตลาดของนักเก็งกาไรผู้โชกโชนเหล่านี้… และหากว่าคุณสามารถที่จะรอให้พวกเขาเริ่มเข้ามาซื้อก่อนได้ล่ะก็ มันจะเป็นการยากมากๆที่คุณจะไม่สามารถทากาไรก้อนใหญ่ จากการเสี่ยงโชคของพวกคุณเลยทีเดียว”
บางทีแล้ว คาแนะนาเหล่านี้อาจเป็นสิ่งที่ดีก็ได้ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ แทนที่จะเหล่านักลงทุนรุ่นเก่าๆผู้โชคโนเหล่านี้ ในทางกลับกันแล้ว มันคือกลุ่มสมาคมหรือสถาบันต่างๆต่างหาก ที่เป็นผู้ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวครั้งใหญ่ขึ้นในตลาด คาถามก็คือ แล้วเราจะมีวิธีการอย่างไร ในการที่จะรู้ได้ว่า พวกเขากาลังเริ่มเข้าซื้อกันล่ะ? หรือเราจะมีวิธีการอย่างไรในการที่จะรู้ได้ว่า พวกเขาเริ่มที่จะทาการขายกันออกมาแล้ว?
อันที่จริงแล้ว คาถามเหล่านี้ไม่มีคาตอบที่ตายตัวเสมอไป หรืออย่างน้อย มันก็ไม่ใช่สิ่งที่นักลงทุนรายย่อยโดยทั่วไปสามารถที่จะทราบได้ แน่นอนว่าในยุคนั้น มีหนังสือพิมพ์ที่คอยรายงานข่าวสารให้ทราบอยู่เช่นกัน แต่ใครจะแน่ใจได้อย่างไรว่า สิ่งที่ถูกรายงานออกมานั้นเป็นความจริง? หรือหากว่ามันไม่มีการบิดเบือนข้อมูลเกิดขึ้น แน่นอนว่านักเก็งกาไรขาใหญ่ของตลาดในขณะนั้น ก็ย่อมที่จะพยายามทาทุกอย่าง เพื่อไม่ให้ใครล่วงรู้ ว่าพวกเขากาลังทาอะไรอยู่อย่างอย่างง่ายดายเช่นกัน พวกเขาต้องพยายามซ่อนคาสั่งการซื้อ-ขายของพวกเขา ดังนั้น สาหรับนักเก็งกาไรตัวเล็กๆโดยทั่วไปแล้ว นี่ถือเป็นคาถามที่มีรายละเอียดปลีกย่อยอย่างมากมาย และในการที่จะตอบคาถามเหล่านี้ โดยการพยายามที่จะสังเกตุว่าใครกาลังซื้อ-ขายกันอยู่นั้น ย่อมต้องมีขอบเขตและข้อจากัดอยู่ไม่น้อย ทางเลือกที่ดีกว่าจึงอาจเป็นการสังเกตุการเคลื่อนไหวของราคาหุ้นและปริมาณการซื้อขายในตัวมันเองแทน และนี่เป็นสิ่งที่

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘