ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 12

ลักษณะที่มีเหตุผลเสียเท่าไหร่ แต่มันก็ถือได้ว่านี่คือการกระทา “ตามแนวโน้ม” อยู่บ้างไม่มากก็น้อย พฤติกรรมเหล่านี้ได้กลายเป็นหลักฐานที่ช่วยในการสนับสนุนความคิดที่ว่า การกระทาหรือเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” นั้นก่อกาเนิดมาจากกลุ่มคนสามัญชนที่มีสถานะต้อยต่า หรือมีเม็ดเงินน้อยกว่า และนี่คือหลักฐานที่แสดงให้เห็นอีกว่า บุคคลสามัญชนโดยทั่วไปซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่ง หรือมีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลชั้นสูงในสังคม ซึ่งมีความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางเศรษฐกิจเป็นอย่างดี สามารถที่จะร่วมเป็นส่วนหนึ่ง และทากาไรจากการกระทาสิ่งต่างๆ ตามข้อมูลเชิงลึกทางเศรษฐกิจของอภิสิทธ์ชนผู้มั่งคั่งเหล่านี้
ผู้ประกอบการแห่ง Wall Street
ย้อนกลับไปก่อนช่วงกลางศตวรรษที่ 19 นั้น การเก็งกาไรส่วนใหญ่ ดูจะเป็นเหมือนเพียงเขตแดนของเหล่าอภิสิทธ์ชนผู้มั่งคั่ง และกลุ่มคนเล็กๆไม่กี่กลุ่มเพียงเท่านั้น คนสามัญชนโดยทั่วไปส่วนใหญ่นั้น ก็มักที่จะเป็นผู้ที่อาศัยหลักการกระทา “ตามแนวโน้ม” ในระดับหนึ่งเท่านั้น พวกเขาเป็นเพียงแค่ตัวละครหนึ่งในเหตุการณ์ “ฟองสบู่ทางเศรษฐกิจ” (Bubbles) ที่เกิดขึ้นซ้าๆไปมาจากช่วงเวลาหนึ่งไปสู่อีกช่วงเวลาหนึ่ง นอกจากนี้ พวกเขาก็ยังเป็นเสมือนผู้ที่คอยเร่งให้เกิดเหตุการณ์ “การตื่นตระหนกของตลาด” (Panic) ซึ่งมักจะเกิดขึ้นอยู่เสมอเช่นเดียวกัน
แต่ในครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 และต่อจากนั้น เป็นยุคที่เริ่มเกิดการเติบโตของกลุ่มสมาคนหรือสถาบันขึ้นมาในตลาด รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการทางความคิดและทัศนคติของผู้คนอีกด้วย โดยจากหลักฐานที่ถูกบันทึกไว้ในหนังสือ “Ten Year In Wall Street” ซึ่งถูกเขียนไว้โดย William Fowler ในช่วงปีค.ศ. 1870 นั้น ได้ระบุเอาไว้ว่า ปีที่เปรียบเสมือนกุญแจของการเปลี่ยนแปลงนี้ก็คือปีค.ศ. 1862 นั่นเอง โดยมันเขียนเอาไว้ว่า “นี่ถือเป็นช่วงเริ่มต้นของยุคแห่งการเก็งกาไรที่รุ่งเรืองที่สุด เท่าที่โลกเคยพบเจอ” และ “ลุงแซม กาลังพิมพ์ธนบัตรเพิ่มอย่างมหาศาล” ซึ่งทาให้เราแน่ใจได้ว่า การเคลื่อนไหวของราคาหุ้นและตลาดสินค้าโภคภัณฑ์บางตัว จะต้องรวดเร็วและผันผวนเป็นอย่างมากแน่นอน และนอกเหนือไปจากตัวอย่างการปั่นราคา ของตลาดข้าวสาลีที่ได้ยกตัวอย่างเอาไว้แล้ว ในยุคนี้ก็ยังมีเหตุการณ์ของการปั่นราคาทองคาในช่วงปีค.ศ. 1869 รวมไปถึงการควบคุมและบิดเบือนกลไกของราคาหุ้น ในกลุ่มอุตสาหกรรมรถไฟอีกด้วย”

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘