ต้นกำเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 08

ถาวร แต่อย่างน้อยก็ในช่วงที่เขาประสบความสาเร็จในการเก็งกาไรเป็นอย่างดี (สิ่งหนึ่งที่ควรทราบก็คือ Livermore พบเจอกับช่วงเวลาที่แสนโหดร้ายอยู่หลายต่อหลายครั้ง ในช่วงชีวิตการเก็งกาไรของเขา)
สุดท้ายนี้ ยังเป็นที่น่าเสียใจว่า ถึงแม้เราพยายามที่จะสืบหาข้อมูลเกี่ยวกับคุณ “Old Partridge” ให้มากขึ้นกว่านี้ แต่เรื่องของเขาก็ยังคงเป็นปริศนาอยู่เช่นเดิม เรายังไม่สามารถที่จะรู้ได้ว่า เขาทาการเริ่มต้นเข้าซื้อ-ขาย หรือแม้กระทั่งออกจากการลงทุน “อย่างไร” ? และนี่ก็เป็นสิ่งที่เรา อาจไม่สามารถที่จะรู้ได้เลยก็เป็นได้
การเข้าถือครองและออกจากการลงทุน
ไม่ว่าจะมองในแง่ใด คาแนะนาที่ผ่านๆมานั้น เราจะเห็นได้ว่ามันไม่เกี่ยวข้องกับการเข้าถือครองหรือออกจากการลงทุนเลย ซึ่งแท้จริงแล้ว มันคือคาแนะนาเกี่ยวกับว่า เมื่อไหร่ที่คุณ “ไม่ควร” ที่จะถอยออกมาต่างหาก ถึงแม้ว่ามันจะเป็นคาแนะนาที่ดีแต่มันก็ไม่สมบูรณ์ ซึ่งอันที่จริงแล้ว หากว่าเราสามารถระบุถึงวิธีการในการเข้าถือครอง และการออกจากการลงทุนได้อย่างชัดเจนแล้วล่ะก็ คาแนะนาที่ว่า “จงร่วมเป็นส่วนหนึ่งไปกับแนวโน้ม” นั้น แทบจะกลายเป็นสิ่งที่ไม่จาเป็นเลยทีเดียว เนื่องจากมันจะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัตินั่นเอง
ดังนั้น หากว่าแท้จริงแล้ว หลักของการกระทา “ตามแนวโน้ม” จาเป็นที่จะต้องมีแผนของการเข้าถือครองและออกจากการลงทุนอย่างชัดเจนแล้ว เราจะสามารถสรุปได้อย่างชัดเจนหรือไม่ว่า เหล่านักเก็งกาไรที่ยิ่งใหญ่ในอดีต คือผู้ที่ได้ใช้หลักของการกระทา “ตามแนวโน้ม” อย่างเต็มตัว? แล้วถ้าเช่นนั้น อะไรคือหลักการเข้าถือครองและออกจากการลงทุนของพวกเขากัน?
ในขั้นแรก เมื่อเรามองไปถึงการเริ่มต้นเข้าถือครองการลงทุน หรือเก็งกาไรใดๆของพวกเขานั้น หลักฐานส่วนใหญ่ได้บ่งชี้ว่า นักเก็งกาไรที่ยิ่งใหญ่ในอดีต มักที่จะตัดสินใจทาการเข้าถือครองการลงทุนด้วยเหตุผลจากสภาพเศรษฐกิจหรือพื้นฐานของบริษัทนั้นๆ อย่างไรก็ตาม มันก็ได้ถูกกระทาควบคู่ไปกับการควบคุมและบินเบือนกลไกตลาดด้วยเช่นกัน
ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงศตวรรษที่ 19 นั้น ตระกูล Rothschild ได้ส่งสายสืบของพวกเขาออกไปทั่วยุโรป เพื่อรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะเศษฐกิจและการเมืองต่างๆ และส่งกลับมาเพื่อประมวลสถานการณ์อย่างต่อเนื่อง นี่เป็นสิ่งที่ทาให้พวกเขารู้ถึงเรื่องราวต่างๆได้ดีกว่าคู่แข่งของพวกเขา ยิ่งไปกว่านี้ Nathan Rothschild นั้น ก็ถือได้ว่าเป็นผู้ที่มีความสามารถในการที่จะปกปิดถึงความต้องการที่

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘