ต้นกาเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 07

ปรัชญาที่สาคัญที่สุดของการกระทาสิ่งต่างๆ “ตามแนวโน้ม” ไว้ได้อย่างชัดเจน นั่นก็คือ “ตราบใดที่การเก็งกาไรของคุณยังเป็นไปได้อย่างดีนั้น จงอย่าถอยออกมา”
ในตัวอย่างต่อไป เราจะข้ามไปในอีกยุคและอีกทวีปหนึ่ง และนี่คือคาพูดของนักเก็งกาไรที่เคยยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งในตลาดธัญพืช (Grain Market) ที่ชิคาโก ซึ่งเขาก็คือ Arthur W. Cutten นั่นเอง โดยเขาได้กล่าวเอาไว้ว่า “ความสาเร็จส่วนใหญ่ของผมนั้น เกิดจากการที่ผมสามารถถือครองการลงทุนเอาไว้ได้ ในขณะที่กาไรของผมนั้นกาลังเพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆ และนี่คือความลับที่ยิ่งใหญ่ที่สุด” และนี่ก็ถือเป็นอีกครั้งที่คาพูดของ Cutten นั้น ได้กล่าวถึงสิ่งที่เรียกว่า “การร่วมเป็นส่วนหนึ่งของแนวโน้ม” นั่นเอง
สาหรับตัวอย่างสุดท้ายนั้น ผมจะขอแนะนาให้คุณรู้จักกับ Jesse Livermore ผู้ซึ่งเป็นดั่งเสาหลักของประวัติศาสตร์ของเหล่านักเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” ซึ่งเราจะได้ทาความรู้จักกับเขาให้มากขึ้นต่อจากนี้ และนี่คือสิ่งที่เขาได้เคยกล่าวเอาไว้
“… กาไรก้อนใหญ่ ไม่ได้เกิดขึ้นจากการทากาไรจากความผันผวนไปมาในตลาด แต่เกิดจากทากาไรจากแนวโน้มหลักของมันต่างหาก หรือพูดอีกอย่างก็คือ มันไม่ได้เกิดจากความสามารถในการอ่านแรงซื้อ-ขายในระยะสั้น แต่เกิดจากความสามารถในการที่จะคาดคะแนถึงภาพรวมของตลาด และแนวโน้มของมัน” (“…the big money [is] not in the individual fluctuations but in the main movements – that is, not in reading the tape but in sizing up the entire market and its trend”)
และประโยคสุดท้ายต่อจากนี้ คือประโยคที่นามาจากหนังสือหุ้น “Reminiscences of a stock operator” ซึ่งถูกเขียนไว้โดย Edwin Lefevre ซึ่งถูกรวบรวมจากบทความในหนังสือพิมพ์ Saturday Evening Post ในช่วงปี 1922-23 ของเขา หนังสือเล่มนี้ ถือเป็นหนังสือที่ได้รับความนิยมและถูกนามาตีพิมพ์ซ้าอยู่หลายครั้งหลายคราวเลยทีเดียว ถึงแม้ว่าในตัวหนังสือจะได้ระบุเอาไว้ว่า ผู้ที่เป็นตัวเอกในการดาเนินเรื่องไว้นั้น คือ Larry Livingston แต่ก็เป็นที่ทราบและยอมรับกันดีว่าแท้จริงแล้ว มันคือตัวละครที่ถูกนามาใช้แทน ผู้ที่เขาได้ทาการสัมภาษณ์อย่างแท้จริง นั่นก็คือ Jesse Livermore นั่นเอง
และประโยคที่จะถูกนามากล่าวถึงต่อไปนี้ แท้จริงแล้ว คือประโยคที่ Livermore เอง มักจะได้ยินในสิ่งที่คุณ “Old Partridge” พูดเอาไว้อยู่บ่อยๆเสมอนั่นก็คือ “คุณรู้ไหม.. นี่คือตลาดกระทิง” (“It’s Bull market, you know”) นี่คือคาแนะนาซึ่งมักจะถูกมอบให้นักเก็งกาไรหลายๆคน เมื่อพวกเขาต้องการที่จะทิ้งการลงทุน ที่กาลังมีกาไรของพวกเขาอย่างรวดเร็วจนเกินไป อย่างไรก็ดี นี่เป็นสิ่งที่นักเก็งกาไรส่วนใหญ่ไม่เคยสนใจ แต่สาหรับ Livermore แล้ว ท้ายที่สุด มันได้แทรกซึมเข้าไปในจิตใจของเขา และกลายเป็นสิ่งที่ทาให้สไตล์การเก็งกาไรของเขาเปลี่ยนไปเลยทีเดียว แม้ว่ามันจะไม่ได้เปลี่ยนไปอย่าง

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘