ต้นกาเนิดของหลักการเก็งกาไร “ตามแนวโน้ม” โดย Stig Ostgaard หน้าที่ 06

ณ จุดเริ่มต้น : การร่วมเป็นส่วนหนึ่งของแนวโน้ม
ถึงแม้ว่าเราจะทราบกันโดยทั่วไปว่า การกระทาสิ่งต่างๆไปตามแนวโน้มที่เกิดขึ้นนั้น ถือเป็นธรรมชาติส่วนหนึ่งของความเป็นมนุษย์ อย่างไรก็ดี เราก็ไม่สามารถระบุได้อย่างแน่ชัดว่า ใครคือบุคคลคนแรกที่สุด ที่ได้นาหลักการนี้มาใช้ อย่างไรก็ตาม ในการที่จะทาความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ เราจาเป็นที่จะต้องระบุถึงใครสักคนขึ้นมา เพื่อเป็นจุดอ้างอิงของการเริ่มต้นขึ้นมา
จากหลักของการกระทาสิ่งต่างๆ “ตามแนวโน้ม” นั้น ภายใต้องค์ประกอบที่สาคัญ 3 ประการนั่นก็คือ การเริ่มต้นเข้าซื้อ-ขาย, การถือครอง และการออกจากการลงทุนนั้น ส่วนของการถือครองการลงทุน หรือ “การร่วมเป็นส่วนหนึ่งของแนวโน้ม” (Staying with the trend) ถือเป็นส่วนที่มีประวัติและแหล่งที่มาอย่างยาวนานที่สุด โดยสังเกตุได้จากการที่เมื่อเหล่านักเก็งกาไรและนักเสี่ยงโชคในยุคก่อนๆถูกถาม เกี่ยวกับกลยุทธ์การเก็งกาไรของพวกเขานั้น พวกเขามักจะตอบเช่นเดียวกันว่า พวกเขาวางแผนที่จะถือครองการลงทุนของเขาให้ยาวนานที่สุด เท่าที่ทุกอย่างจะเอื้ออานวยให้เป็นไปได้ หรือพูดอีกอย่างก็คือ พวกเขาได้พยายามที่จะร่วมเป็นส่วนหนึ่งไปกับแนวโน้มที่เกิดขึ้นนั่นเอง
David Ricardo ผู้ซึ่งเป็นนักเศรษฐศาสตร์และนักเก็งกาที่ยิ่งใหญ่คนหนึ่งในอดีต ซึ่งเคยรุ่งเรื่องอยู่ในตลาดหุ้นลอนดอนในช่วงปีค.ศ. 1970 – 1981 คือตัวอย่างหนึ่งของหลักฐานของเรื่องเหล่านี้ เขาคือนักเก็งกาไรขาใหญ่ในตลาดธนบัตรและตลาดหุ้น ผู้ซึ่งสร้างความมั่งคั่งร่ารวยจากการเก็งกาไรของเขา จนทาให้เขาสามารถที่จะเพ่งความสนใจที่เหลือในชีวิตโดยไม่ต้องสนใจอะไร ไปยังสิ่งที่เขาหลงไหลนั่นก็คือเรื่องของวิชาเศรษฐศาสตร์นั่นเอง
อันที่จริงแล้ว เราไม่สามารถทราบอย่างแน่ชัดว่า ระบบหรือวิธีการเก็งกาไรของเขานั้นเป็นอย่างไร อย่างไรก็ดี สิ่งที่เขาเคยได้กล่าวเอาไว้ ก็ถือได้ว่าวาทะอมตะของวงการเก็งกาไรเลยทีเดียว นั่นก็คือ “จงตัดขาดทุน และปล่อยให้กาไรวิ่งต่อไป” (“Cut short your losses; let your profits run on”) และนี่เป็นสิ่งที่ไม่ต้องสงสัยเลยว่า มันเป็นคาแนะนาที่มีคุณค่าเป็นอย่างมาก มันได้ยืนหยัดผ่านกาลเวลาจวบจนถึงปัจจุบัน และได้ถูกนาไปใช้กันอย่างแพร่หลาย อย่างไรก็ตาม มันไม่ได้ระบุถึงรายละเอียดของมันเอาไว้อย่างชัดเจนเช่นกันว่า แล้วคุณจะตัดขาดทุน “อย่างไร” หรือแม้กระทั่งว่า คุณจะทาการปล่อยให้กาไรวิ่งต่อไป “อย่างไร” เช่นกัน และถึงแม้ว่าในส่วนแรกของประโยคนี้ จะได้กล่าวถึงบางอย่างเกี่ยวกับการหนีออกมาจากการลงทุน แต่มันก็ไม่ได้กล่าวถึงส่วนของการเริ่มต้นเข้าลงทุนเอาไว้ด้วย แต่อย่างไรเสีย ในส่วนท้ายของประโยคนั้น มันก็ได้กล่าวถึง

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘