หลักฐาน"ธรรมกาย"ทางพุทธศาสนา ( 6 )

จาก Internet ฝ่ายมหายาน

"In the Nyingma tradition Dharmakaya is called the "Truth-State". It is symbolized in the form of the Root-Buddha
ตามวิถีปฏิบัติของพวกนิงมาธรรมกายถูกเรียกว่า "สภาวะแห่งความจริงแท้" และสัญลักษณ์แสดงถึงรูปแบบความเป็นต้นกำเนิดของพระพุทธเจ้า http://www.diamondway-buddhism.org/lineage/ph-01-e.htm


The sutras will be quoted to show the various interpretations given to Nirvana until in the Mahayana it came to be identified with the highest truth or reality, the Dharmakaya itself, and then with Suchness and Enlightenment.
พระสูตรเหล่านั้นจะแสดงความหมายหลายอย่างต่อพระนิพพาน จนกระทั่งทางมหายาน พระนิพพานถูกแสดงด้วยสิ่งที่เป็นความจริงอันสูงสุดคือ ตัวตนของธรรมกาย ซึ่งเป็นตัวสัจจธรรมและการตรัสรู้ธรรม

Likewise the Tathagata has all his evil passions extinguished but his Dharmakaya remains for ever.'
เช่นเดียวกับที่ ตถาคต มีความดับไปของกิเลสทั้งปวงแล้ว ยังคงเหลือแต่ธรรมกายที่ยังปรากฏอยู่เป็นนิรันดร์

In other Mahayana sutras Nirvana is identified with the Dharmakaya, or with the Dharmadhatu where all Buddhas have their being, or with the Buddha's deepest meditation, or with Prajnaparamita.
ในมหาปรินินิพพานสูตรอื่นของมหายาน นิพพานถูกแสดงด้วยธรรมกายหรือด้วยธรรมธาตุ ที่ซึ่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายยังดำรงอยู่ หรือด้วยภาวะนิโรจน์ของพระพุทธเจ้า หรือ ด้วยปรัชญาปรมิตตา

As they neither come into being nor go out of being, they are of the Dharmakaya which abides for ever, and this is called Nirvana;
ท่านทั้งหลายไม่ทั้งกลับมามีชีวิตอยู่และไม่ไปเพื่อมีชีวิตอยู่ ท่านทั้งหลายมีความเป็นธรรมกายซึ่งคงอยู่อย่างนิจนิรันดร์ อย่างนี้เรียกว่าพระนิพพาน

All evil passions are caused by errors and have nothing to do with the Dharma-nature, which is the master neither coming into being nor going out of being. This is known to the Buddha and called Nirvana;
กิเลสอันลามกทั้งหลายอันเกิดจากความผิดพลาดและจากการไม่เป็นไปตามธรรมชาติของธรรมะ ซึ่งพระศาสดาจะไม่ทั้งมาเกิดหรือไปเกิดอีก สิ่งนี้ตรัสรู้แล้วโดยพระพุทธเจ้า และเรียกว่านิพพาน

What is unreal rises from conditionality, whereas Reality transcends it, and the Tathagata's Dharmakaya is this Reality, which is called Nirvana.
อะไรที่ยังไม่ใช่ของจริงเกิดจากความมีเงื่อนไข และด้วยเหตุที่สัจจธรรมเป็นสิ่งที่เหลือวิสัยที่จะกล่าว และ "ธรรมกาย" ของตถาคตก็คือสัจจธรรมนั้น ซึ่งถูกเรียกว่าพระนิพพาน
http://home1.pacific.net.sg/~omm/dharma/nirvana.html


Dharmakaya - Body of self-nature
What is body of self-nature? This is the foundation of all Buddhas, the true and pure dharma realm, usage and equality. It is formless, immobile, and has uncountable merits. The dharma nature is equality, which is the truth. We may say in the dharma realm, the pure Buddha nature is body of self-nature.
ธรรมกายคือกายอันเป็นธรรมชาติที่เป็นตัวของตัวเอง
อะไรคือกายอันเป็นธรรมชาติที่เป็นตัวของตัวเอง นี่คือรากฐานของพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ คือความจริงและความบริสุทธิ์แห่งธรรมจักร วัตรปฏิบัติและความเสมอภาค มันเป็นสิ่งที่ไร้รูป(ขันธ์ 5) ไม่เคลื่อนไหว และมีบุญนับจะประมาณไม่ได้ ธรรมชาติของธรรมะคือความเสมอภาคซึ่งเป็นสัจจธรรม เราอาจกล่าวได้ว่าในธรรมจักรนั้น ธรรมชาติของพระพุทธเจ้าอันพิสุทธิ์ก็คือกายอันเป็นธรรมชาติที่เป็นตัวของตัวเองนั่นเอง
http://www.tbsn.org/ebooks/greattan/chap17.htm


Samsara and nirvana manifest according to whether the mode of being (bzhugs tshul) of the true nature, the dharmakaya, is realized or not. Even when there is realization, dharmata (present as the ground and free from elaborations) is the creator (byed pa po) of all that exists, samsara and nirvana.
สังสารวัฏและนิพพานประจักษ์ถึงรูปแบบของการมีชีวิตของธรรมชาติที่แท้จริง อันคือธรรมกายไม่ว่าจะสามารถเห็นได้หรือไม่ก็ตาม แม้เมื่อมีความเป็นจริง ธรรมมัต (คือรากฐานและความอิสระจากความถึงพร้อม) คือผู้สร้างสิ่งที่มีอยู่แล้วนั้นทั้งหมดอันคือสังสารวัฏและนิพพาน

Mind relaxed in its own state-mind that does not identify that state, reflexive awareness that is vivid (sa le ba) yet without any object-is the dharmakaya
ทำจิตใจให้ผ่อนคลาย รักษาสภาวะจิตนั้นว่ามันไม่ได้อยู่ที่สภาวะนั้น รักษาสติให้แจ่มใสโดยปราศจากสิ่งอื่นใด นั่นก็คือสภาวะธรรมกาย
http://www.nitartha.org/ngengf.html

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘