กรณีธรรมกาย : หลวงพ่อธัมมชโย วัดพระธรรมกาย ไม่ปาราชิกแน่แท้

กรณีธรรมกาย ตีแผ่โดยเจ้าคุณเบอร์ลินโชว์ต้นฉบับ “จดหมายน้อย” : กรณีพระธัมมชโย วัดพระธรรมกาย 

ทีมา เพจ เจ้าคุณเบอร์ลิน ……….กรณีธรรมกาย

ที่มาของ “จดหมายน้อย”กรณีธรรมกาย
ผมได้รับการติดต่อจาก “พระผู้ใหญ่ระดับสูงจากไทยรูปหนึ่ง”

ท่านได้เมตตาชี้แจงเรื่องนี้โดยละเอียดแก่ผม
ทั้งยังเป็นพระมหาเถระที่เป็น “ธรรมยุตนิกาย” อีกด้วย

มอบส่วนหนึ่งของ “จดหมายน้อย” กรณีธรรมกาย
ที่เป็นต้นฉบับ ที่ มส. เรียกเป็นทางการว่า “พระดำริ” กรณีธัมมชโย ที่กำลังมั่วถั่วกันอยู่นี้
อีก 1 ชุดแก่ผมอีกด้วย


กรณีธรรมกาย
ซึ่งเป็นเอกสารชุดที่ไม่เคยปรากฏในที่ใดมาก่อน เพราะนี่เป็น “ต้นฉบับ” ที่ใช้ประชุม มส. ในครั้งนั้น.
– ท่านกำชับกับผมว่า ขอให้ใช้สติปัญญา พิจารณานำออกมาเผยแพร่
…….กรณีธรรมกาย
วันนี้ ผมจะเผยแพร่ และเจาะลึกในเอกสาร “ต้นฉบับ”
ที่เรียกว่า “จดหมายน้อย” นี้ จำนวน 5 ฉบับ ไปเลยนะครับ
สื่อท่านใด จะเอาไปขยายก็จะเป็นกุศลด้วยกันครับ.
….กรณีธรรมกาย
ผมจะนำไปชี้ต้นตอของปัญหา สารพัดชื่อที่จะเรียก ทั้ง พระวินิจฉัย พระดำริ พระลิขิต
จนชาวบ้านชาวเมืองมึนไปหมด…

1. ทำไมเรียกว่า “จดหมายน้อย” กรณีธรรมกาย

ตรงนี้ไม่ยากครับ กรรมการ มส. สมัยประชุมที่ตำหนักเพชร วัดบวร รู้แจ้งทุกรูปคำนี้
หรือหากใครทำงานอยู่ “กรมศาสนา” ที่ทำหน้าที่ เลขา มส. ยุคนั่น ก็จะไม่สงสัย
เพราะนี่คือคำที่ใช้เรียกแบบ
“รู้กันในใจกันดีว่า สิ่งนี้ มันมาจากไหน มาจากใคร มายังไง”
คน (ไม่อยากเรียกว่าพระ) ก็ยังคงมีชีวิตอยู่ ก็ตัวแสบคนเดียวนะแหละครับ
ที่มักจะถือมาส่งที่ประชุม มส. หรือยื่นให้ จนท. ในสมัยนั้นเนือง ๆ.
(ผมจะไม่ขยายนะครับ).
……..กรณีธรรมกาย

2. เอกสารที่ออกมาในครั้งนี้นั้น ผมได้สืบค้นในเอกสารของกรมการศาสนายุคนั้น
ปรากฏชัดเจนในสาระบบราชการเรียกว่า “พระอักษร”

ชัดอีกประเด็นหนึ่ง ในกรณีผลของการลำดับ ในการปฏิบัติตามต่อจากนั้น.
………กรณีธรรมกาย

3. ผมจะเล่า และลำดับเหตุการณ์ขณะนั้นให้ฟังครับเผื่อจะได้เห็นภาพอะไรต่ออะไรชัดเจนขึ้น

– ครั้งนั้น ผมไม่ได้เข้าร่วมประชุมหรอกครับ เพราะเด็กอยู่
แต่ทุกครั้งที่หลวงพ่อผมกลับจากประชุม มส.
กรณีธรรมกาย
ท่านกลับมาถึงกุฏิคณะ 5 ท่านก็จะมานั่งดื่มน้ำชาสักพัก พอหายเหนื่อย
ท่านก็จะเล่าว่า วันนี้มีอะไรบ้างที่ประชุม ผมก็จะจำจะจดตลอดครับ

ขนาดคราวหนึ่ง สมเด็จญาณท่านเดินสดุดอาสนะที่นั่ง แล้วพลิกขึ้นเห็นไมค์ลอยตัวเล็ก ๆ สอดไว้ใต้อาสนะ เพื่อดักฟังการประชุม มส. ผมยังรู้เรื่องเลย
คนพาลนี่มันร้ายจริง ๆ ครับ.
………กรณีธรรมกาย

4. ที่อ้างกันว่า เป็นพระลิขิต 5 ฉบับนั้น กรมการศาสนายุคนั้นเขาใช้คำว่า “พระอักษร” ครับ

ในฉบับแรกที่ออกมา ให้สังเกต หัวกระดาษมีตราสัญลักษณ์ ญสส
แต่ท้ายพระอักษรไม่ปรากฏมีลายเซ็นขององค์สมเด็จท่าน
กรณีธรรมกาย

กรณีธรรมกาย ฉบับที่ 1

โดยเหตุการณ์ในครั้งนั้นคำสอนพระพุทธเจ้า ศาสนาพุทธ
มีเจ้าคุณชั้นราช วัดบวร (ยังมีชีวิตอยู่)
ได้เดินถือเข้ามาในที่ประชุมมหาเถรสมาคมที่ตำหนักเพชร
เพื่อให้เจ้าหน้าที่แจกกรรมการ มส.

แต่มีการทักท้วงกันว่า ทำไมพระอักษรไม่มีลายเซ็นพระนามสมเด็จพระสังฆราช
ระวังจะทำให้เกิดความเสียหายแก่พระองค์ท่าน
สุดท้ายจึงมีการขอถอนพระอักษรฉบับนี้กลับไป
แต่ถึงอย่างนั้น พระอักษรฉบับนี้ ก็มีการถูกนำไปขยายผลภายหลังอีก.
…..กรณีธรรมกาย

5. เมื่อมีการถอนพระอักษรฉบับที่ไม่มีลายเซ็นกลับไป ต่อมา จึงมีฉบับใหม่ (ฉบับที่ 2) ที่มีลายเซ็นตามมาอีก

กรณีธรรมกาย ฉบับที่ 2

แต่มีข้อสังเกตว่า
ในบรรทัดแรกของพระอักษรฉบับที่ 1 กับฉบับที่ 2 มีความต่างกัน ตรงคำว่า “เป็น”

อยู่คนละบรรทัด แสดงให้เห็นว่า น่าจะจัดพิมพ์ขึ้นใหม่ และเกิดจากการอย่างรีบเร่งจนไม่ได้ตรวจทาน (ผิดวิสัยการทำงานที่เป็นปกติทั่วไป) หรือไม่.
……กรณีธรรมกาย

6. หลังจากนั้น ก็มีฉบับที่ 3 ตามมา โดยมีข้อความข้างต้นซ้ำกับฉบับเดิม แต่เพิ่มข้อความใหม่เข้ามาอีก

กรณีธรรมกาย ฉบับที่ 3

ฉบับนี้ไม่ได้ไปที่ประชุมของมหาเถรสมาคม แต่กลับถูกส่งไปที่กรมการศาสนาคำสอนพระพุทธเจ้า ศาสนาพุทธ
โดยให้เหตุผลว่า มส. เลื่อนการประชุม จึงนำส่งกรมการศาสนาแทน
โดยกรมการศาสนานำไปมอบให้เจ้าคณะภาค 1 เลย ไม่ได้นำเข้าแจ้ง มส.
ฉะนั้น มส. จึงไม่ทราบ/ไม่เห็นฉบับนี้.
….

7. ส่วนฉบับที่ 4 เป็นฉบับที่ปรากฏว่าถูกนำไปแจกเผยแพร่กันทางสื่อมวลชน

กรณีธรรมกาย ฉบับที่ 4 แพร่หลายตาม นสพ.

หลังเริ่มมีการรายงาน และทักท้วงกันมากขึ้น
มีการแฟ็กซ์ไปตามหนังสือพิมพ์ ซึ่งฉบับนี้ ก็ไม่มีลายเซ็นเช่นกัน
จึงไม่มีเจ้าหน้าที่ หรือ มส. รูปใดเห็นฉบับจริง นอกจากการรายงานทางสื่อมวลชนเท่านั้น.
กรณีธรรมกาย

8. ต่อมา เมื่อมีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก ถึงพระอักษรที่ไม่มีลายเซ็นพระนามสมเด็จพระสังฆราช แต่มีการใช้ตราหัวกระดาษ ญสส. ออกมาใช้คำสอนพระพุทธเจ้า ศาสนาพุทธ

เกรงจะมีการแอบอ้างพระอักษรของพระองค์ท่านหรือไม่
จากนั้น จึงมีฉบับที่ 5 ออกมา

กรณีธรรมกาย ฉบับที่ 5
 

ครั้งนั้น ในที่ประชุม มส. ทั้งฝ่ายธรรมยุติ และมหานิกาย
จึงได้ทำ “สัญญัติ” ร่วมกันว่า
จะไม่พูดเรื่องนี้ ไม่ถามถึงที่มาที่ไปว่า เป็นพระอักษรจริงหรือไม่ อย่างไร อีก
เพื่อรักษาพระเกียรติสมเด็จพระสังฆราชร่วมกัน.
…..

9. (แทรกเพื่อความต่อเนื่อง) กรณีธรรมกาย

– ส่วนพระอักษรฉบับที่ส่งมา เพื่อขอให้เจ้าคุณชั้นราช แห่งวัดบวร
เป็นกรรมการมหาเถรสมาคมนั้น
เมื่อเรื่องได้มาถึงที่ประชุม แต่ยังไม่ได้เข้าสู่วาระการประชุม มส.
คำสอนพระพุทธเจ้า ศาสนาพุทธ
ทางฝ่ายธรรมยุติถกกันอย่างกว้างขวาง ว่า จะทำอย่างไรดีกับพระอักษรฉบับนี้
เพราะหากจะไม่ปฏิบัติตาม ก็จะเป็นการไม่บังควร
ครั้นจะปฏิบัติตาม ก็ยิ่งจะทำให้เสื่อมเสียพระเกียรติสมเด็จพระสังฆราช

ซ้ำประวัติศาสตร์คณะสงฆ์ไทยก็จะจารึกไว้ ว่า เป็นความผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง

– จึงให้มีการตรวจสอบข้อมูลว่า เคยมีเจ้าคุณชั้นราชเป็นกรรมการมหาเถรสมาคมบ้างหรือไม่ ปรากฏว่า ไม่เคยมีเรื่องการขอเจ้าคุณชั้นราช ให้เป็นกรรมการ มส. นี้ เป็นปัญหามาก เพราะจะเป็นการสร้างมลทินให้การปกครองคณะสงฆ์กรณีธรรมกาย

จึงหาข้อยุติไม่ได้สักที
ในที่สุดจึงมีการตกลงกันว่า
“ขอถอนพระอักษรฉบับนี้คืน”
พร้อมกับให้เรียกเก็บเอกสารทั้งหมดจากกรรมการ มส. ทุกรูป.
คำสอนพระพุทธเจ้า ศาสนาพุทธ
– จากพระอักษรฉบับนี้
เป็นไปไม่ได้ที่สมเด็จพระสังฆราช จะไม่ทรงทราบว่า พระราชาคณะชั้นราชเป็นกรรมการ มส ไม่ได้ โดยต้องเป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ขึ้นไป
ซึ่งเป็นการขัดธรรมเนียมปฏิบัติของคณะสงฆ์.

สรูปว่า
– ทั้งหลายทั้งปวงที่ผมได้พยายามแจงมาข้างต้นทั้ง 9 ข้อนั้น
ก็แสดงว่า งานนี้น่าจะมีความไม่ปกติเกิดขึ้น
น่าจะมีคณะบุคคลดำเนินการโดยพลการหรือไม่
โดยไม่รู้ธรรมเนียมปฏิบัติของคณะสงฆ์ ที่ยึดทั้งพระธรรมวินัย และกฏหมายสงฆ์
กรณีธรรมกาย

แล้วคนที่กำรายละเอียดหมดทุกอย่างยิ่งกว่าผม
ประเทศไทยมีคนเดียว คือ ดร. วิษณุ ของผมนะแหละครับ
ส่วนแกจะพูดหรือเปล่านั่นอีกเรื่อง
คำสอนพระพุทธเจ้า ศาสนาพุทธ

ดังนั้น หากจะคลี่คลาย และยุติปัญหาที่บายปลายจนจะเผาประเทศอยู่แล้วนี้กันจริง ๆ
ก็ขอให้ผู้เกี่ยวข้อง หรือ DSI ที่ขยันแต่เรื่องของพระนี่
ได้ไปตรวจสอบ สืบสวนเชิงลึกดูว่า
ใครทำ ทำกี่คน มีจุดประสงค์อะไรแฝง
กรณีธรรมกาย
อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ดีดที่ใช้ยังอยู่ไหม
เอกสารพระอักษรฉบับจริงอยู่ที่ไหน
จะต้องเอามาเคียบเคียงกับฉบับที่เผยแพร่ ว่ามีข้อความตรงกันหรือไม่ อย่างไร

ที่มา เพจเจ้าคุณเบอร์ลิน 
09.02.2016

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘