ปัญหาพุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชั นเอก ปริเฉทที่ ๑ – ๓ อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

ปัญหาพุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชั นเอก
ปริเฉทที ๑ – ๓
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
***********************************
๑. ๑.๑. หนังสือพุทธานุพุทธประวัติมีก ีปริเฉท จำนวนพระสาวก ๘๐ รูป อยู่ในปริเฉทท ีเท่าไร ? ๒๕๓๙
๑.๒. ปัญจมหาวิโลกนะ คืออะไร ? ๒๕๓๙
๒. ๒.๑. พระพุทธเจ้าประกอบด้วยสัมปทาคุณเท่าไร ? ๒๕๓๗
๒.๒. สัมปทาคุณแต่ละข้อมีความหมายอย่างไร ? ๒๕๓๗
๓. ๓.๑. ชาวชมพูทวีปนับถือศาสนาอะไรเป็นพื9น และคติแห่งศาสนานั9นเป็นอย่างไร ? ๒๕๔๒
๓.๒. ความเห็นของผู้ถือศาสนานั9น แยกเป็นก ีประเภท อะไรบ้าง ต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๒
๔. ๔.๑. ความเมา ๓ ประการท ีพระสิทธัตถะทรงดำริเห็นนั9น ได้แก่อะไร ? ๒๕๔๐
๔.๒. อุบายท ีพระสิทธัตถกุมารจะออกไปจากทุกข์นั9นคืออะไร เพราะเหตุไร จึงใช้อุบายนี9 ? ๒๕๔๐
๕. ๕.๑. อุปมา ๓ ข้อ ท ีพระองค์ทรงพิจารณาเห็นโทษของการประพฤติกามสุขัลลิกานุโยคนั9นคืออะไร
บ้าง ? ๒๕๔๐
๕.๒. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แปลว่าอะไร ทางสุดโต่ง ๒ สายท ีปรากฏในพระสูตรนี9 คืออะไร ? ๒๕๔๐
๖. บุคคลและสถานท ีต่อไปนี9 เก ียวข้องกับพระพุทธเจ้าอย่างไร
๖.๑. พระเจ้าอมิโตทนะ ? ๒๕๓๘
๖.๒. ต้นพระศรีมหาโพธิC ? ๒๕๓๘
๗. ๗.๑. ลักษณะทั9ง ๒ ท ีพระพุทธองค์ทรงเห็นในมัชฌิมยามแห่งราตรีตรัสรู้คืออะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๗.๒. พระอุทานที พระพุทธองค์ทรงเปล่งในปัจฉิมยามมีความว่าอย่างไร ? ๒๕๔๓
๘. ๘.๑. ท ีว่า “ดวงตาเห็นธรรม” นั9น เห็นธรรมอะไร ใจความว่าอย่างไร ? ๒๕๔๒
๘.๒. จงบอกชื อพระสาวกที ได้ดวงตาเห็นธรรมมา ๓ ท่าน และท่านได้จากใคร ? ๒๕๔๒
๙. ๙.๑. ทรงทำอายุสังขาราธิษฐาน หมายถึงอะไร ? ๒๕๔๓
๙.๒. ญาณ ๓ ในอริยสัจ ๔ คืออะไร บอกมาให้ครบ ? ๒๕๓๙
๑๐. ๑๐.๑. หลังจากตรัสรู้แล้ว ประทับอยู่ใต้ร่มมหาโพธิC ทรงพิจารณาธรรมอะไร มีความหมายอย่างไร?
๒๕๔๐
๑๐.๒. ในมรรคมีองค์ ๘ ทำไมพระองค์จึงทรงแสดงปัญญาไว้ก่อนศีล และสมาธิ ? ๒๕๓๘
***********************************
เฉลยพุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชั นเอก
ปริเฉทที ๑ – ๓
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**********************************
๑. ๑.๑. มี ๑๓ ปริเฉท จำนวนพระสาวก ๘๐ รูป อยู่ในปริเฉทที ๑๒ ฯ
๑.๒. ปัญจมหาวิโลกนะ คือ การที พิจารณาเลือกความเหมาะสม ๕ อย่าง ของพระโพธิสัตว์ก่อนลงมา
อุบัติในมนุษยโลก เพื อตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือ
๑. กาล ๒. ทวีป ๓. ประเทศ ๔. ตระกูล ๕. มารดา ฯ
๒. ๒.๑. ประกอบด้วยสัมปทาคุณ ๓ ประการ
๒.๒. คือ ๑. เหตุสัมปทา ได้แก่พระมหากรุณาสมาโยค และพระอุตสาหะในการบำเพ็ญบารมีเพื อ
สัมมาสัมโพธิญาณ
๒. ผลสัมปทา คือความสำเร็จแห่งรูปกาย อานุภาพปหานะ การละกิเลส และญาณท ีหยัง
รู้ประจักษ์ชัด
๓. สัตตูปการสัมปทา คือการทรงบำเพ็ญอุปการะแก่สัตว์ด้วยโยคะ และอาสยะอันบริสุทธิC
๓. ๓.๑. ประชาชนส่วนมากนับถือศาสนาพราหมณ์เป็นพื9น ฯ และคติแห่งศาสนาพราหมณ์นั9นถือว่า
โลกธาตุและสิ งทั9งปวง พระอิศวรเป็นเจ้าทรงสร้างขึ9น และถือว่าธาตุทั9งปวง มี ดิน น9ำ ลม ไฟ
เป็นต้น ล้วนมีเทวดาประจำอยู่ทั9งสิ9น ฯ
๓.๒. ความเห็นของผู้ถือศาสนาพราหมณ์นั9น เม ือกล่าวโดยความคงมี ๒ คือ พวกหนึ งเห็นว่าตายแล้วเกิด
อีกพวกหนึ งถือว่าตายแล้วศูนย์ ฯ
๔. ๔.๑. ความเมา ๓ ประการ คือ
๑. ความเมาในวัย ๒. ความเมาในความไม่มีโรค ๓. ความเมาในชีวิต ฯ
๔.๒. อุบายนั9น คือ การบรรพชาฯ เพราะว่าชีวิตของความเป็นฆราวาสเป็นท ีคับแคบ และเป็นท ีตั9งแห่ง
อารมณ์อันทำใจให้เศร้าหมอง ขัดเคือง การออกบรรพชาเป็นช่องทางที จะแสวงหาอุบายแก้ทุกข์
นั9นได้ ฯ
๕. ๕.๑. อุปมา ๓ ข้อ คือ
๑. สมณะเปรียบเหมือนไม้สดท ีแช่น9ำ
๒. สมณะเปรียบเหมือนไม้สดที มียาง
๓. สมณะเปรียบเหมือนไม้แห้งฯ
๕.๒. แปลว่าสูตรว่าด้วยการหมุนพระธรรม (การประกาศธรรม) ฯ ทางสุดโต่ง ๒ สาย คือ กามสุขัลลิกา
นุโยค และอัตตกิลมถานุโยค ฯ
๖. ๖.๑. พระเจ้าอมิโตทนะ เป็นพระกนิฏฐภาดาของพระเจ้าสุทโธทนะ จึงเป็นพระเจ้าอาของพระพุทธเจ้า
๖.๒. ต้นพระศรีมหาโพธิC เป็นสหชาติของพระพุทธเจ้า และเป็นไม้ท ีพระพุทธเจ้าประทับนัง ตรัสรู้ ฯ
๗. ๗.๑. คือ ๑. ปัจจัตตลักษณะ ได้แก่ การกำหนดโดยความเป็นกอง
๒. สามัญญลักษณะ ได้แก่การกำหนดโดยความเป็นสภาพเสมอกัน คือความเป็นของไม่เทียง
๗.๒. มีความว่า เม ือใดธรรมทั9งหลายปรากฏชัดแก่พราหมณ์ผู้มีความเพียรเพ่งอยู่ พราหมณ์นั9นย่อมกำจัด
เสนามาร คือ ชรา พยาธิ มรณะเสียได้ ดุจพระอาทิตย์อุทัยขึ9นกำจัดมืดทำอากาศให้สว่างฉะนั9น
๘. ๘.๑. คือ เห็นเกิดและดับ ฯ ใจความว่า สิ งใดสิ งหนึ งมีความเกิดขึ9นเป็นธรรมดาสิ งนั9นทั9งหมด มีความ
ดับเป็นธรรมดา ฯ
๘.๒. ๑. พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมจากพระบรมศาสดา
๒. พระสารีบุตร ได้ดวงตาเห็นธรรมจากพระอัสสชิ
๓. พระมหาโมคคัลลานะ ได้ดวงตาเห็นธรรมจากพระสารีบุตร
๙. ๙.๑. ทรงทำอายุสังขาราธิษฐาน หมายถึงทรงตั9งพระหฤทัยจักอยู่แสดงธรรมสั งสอนแก่มหาชน และตั9ง
พุทธปณิธานใคร่จะดำรงพระชนม์อยู่ จนกว่าพุทธบริษัทจักตั9งมัน และได้ประกาศพระศาสนาให้
แพร่หลาย ประดิษฐานให้มัน คงถาวรแก่นิกรทุกหมู่เหล่า ฯ
๙.๒. คือ ๑. สัจจญาณ ๒. กิจจญาณ ๓. กตญาณ ฯ
๑๐. ๑๐.๑. ทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท มีความหมายว่า ธรรมทั9งหลายอาศัยกัน และกันเกิดขึ9นฯ
๑๐.๒. เพราะเหตุที ว่า หากไม่ทรงแสดงปัญญาก่อนแล้ว แม้ศีล และสมาธิก็อาจปฏิบัติผิดทางได้ เพราะ
ขาดปัญญา ฉะนั9นพระบรมศาสดาจึงทรงแสดงปัญญาก่อนศีล และสมาธิฯ
**********************************

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘