ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั้นเอก กัณฑ์ที่ ๒๓ - ๒๕ อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๓ - ๒๕
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**********************************
๑. ๑.๑ มูลเหตุให้เกิดสังฆกรรมมีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๑.๒ สังฆกรรมมีเท่าไร อะไรบ้าง อธิบายมาโดยย่อ ? ๒๕๔๐
๒. ๒.๑ การตัง% ญัตติและสวดอนุสาวนามีอยู่ในกรรมอะไรบ้าง ในสังฆกรรมทัง% ๔ ? ๒๕๔๓
๒.๒ สังฆกรรม ๔ นั%น อย่างไหนต้องทำในสีมา อย่างไหนทำนอกสีมาก็ได้ ? ๒๕๔๓
๓. ๓.๑ อปโลกนกรรมมีกี.อย่าง ? อะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๓.๒ สงฆ์ผู้ทำสังฆกรรม มีกำหนดจำนวนไว้อย่างไร ? ๒๕๔๔
๔. ๔.๑ กรรมวิบัติ หมายถึงอะไร ? ๒๕๓๗
๔.๒ สงฆ์ผู้ทำกรรม เมื.อทำพึงหลีกจากวิบัติ วิบัติที.พึงหลีกนัน% มีเท่าไร อะไรบ้าง ?
๒๕๓๙
๕. ๕.๑ พัทธสีมามีกำหนดขนาดพืน% ที.ไว้หรือไม่ ถ้ามี กำหนดไว้อย่างไร ? ๒๕๔๓
๕.๒ สถานที.ที.เป็ นสีมาตามพระวินัยไม่ได้ มีหรือไม่ เพราะเหตุใด ? ๒๕๔๓
๖. ๖.๑ สีมามีกี.ประเภท ในแต่ละประเภทนัน% แบ่งออกไปได้อีกเท่าไร อะไรบ้าง ?๒๕๔๑
๖.๒ วัตถุเป็ นเครื.องหมายเขตสีมา เรียกว่า นิมิตนัน% ระบุไว้กี.ชนิด อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๗. ๗.๑ การผูกพัทธสีมาในบัดนี % มีวิธีปฏิบัติอย่างไร ? ๒๕๔๒
๗.๒ สีมาสังกระกันด้วยเหตุอะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๘. ๘.๑ ขัณฑสีมาคืออะไร มหาสีมาเป็นอย่างไร ? ๒๕๓๗
๘.๒ คามสีมาและวิสุงคามสีมา มีลักษณะต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๐
๙. ๙.๑ ภิกษุผู้ได้รับเลือกเป็ นเจ้าหน้าที.ทำการสงฆ์ มีคุณสมบัติอย่างไร ? ๒๕๓๗
๙.๒ เจ้าหน้าที.ทำการสงฆ์ที.สงฆ์ควรสมมติตามพระพุทธานุญาตมีกี.แผนก อะไรบ้าง ?
๒๕๓๗
๑๐. ๑๐.๑ ภัตรมีนิยมต่าง มีพระบรมพุทธานุญาตไว้เท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๑๐.๒ การให้ภิกษุถือเสนาสนะเป็ นหน้าที.ของใคร ผู้นัน% พึงปฏิบัติอย่างไร ? ๒๕๔๓
***************************
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๓ - ๒๕
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
***************************
๑. ๑.๑ มูลเหตุให้เกิดสังฆกรรมมี ๒ คือ
๑. ภิกษุบริษัทมีมากขึน"
๒. พระพุทธองค์ทรงประสงค์ให้สงฆ์เป็นใหญ่ในการบริหารคณะ ฯ
๑.๒ สังฆกรรมมี ๔ ประเภท คือ
๑. อปโลกนกรรม ได้แก่ กรรมท2ีทำการบอกกันในท2ีประชุมสงฆ์ ไม่ต้องตัง" ญัตติไม่ต้อง
สวดอนุสาวนา
๒. ญัตติกรรม ได้แก่ กรรมท2ีทำด้วยการตัง" ญัตติแต่ไม่สวดอนุสาวนา
๓. ญัตติทุติยกรรม ได้แก่ กรรมท2ีทำด้วยตัง" ญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว
๔. ญัตติจตุตถกรรม ได้แก่ กรรมท2ีทำด้วยตัง" ญัตติแล้วสวดอนุสาวนาสามหน ฯ
๒. ๒.๑ การตัง" ญัตติ มีในญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ส่วนการสวด
อนุสาวนา มีในญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ฯ
๒.๒ ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ต้องทำในสีมาเท่านัน" ทำนอกสีมา
ไม่ได้ เพราะต้องตัง" ญัตติ ส่วนอปโลกนกรรม ทำนอกสีมาก็ได้ เพราะไม่ต้องตัง" ญัตติ ฯ
๓. ๓.๑ อปโลกนกรรม มี ๕ อย่างคือ
๑. นิสสารณา นาสนะสามเณรผู้กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้า
๒. โอสารณา รับสามเณรผู้ถูกนาสนะแล้วกลับประพฤติเรียบร้อยให้เข้าหมู่
๓. ภัณฑูกรรม บอกขออนุญาตปลงผมคนผู้จะบวชอันภิกษุจะทำเอง
๔. พรหมทัณฑ์ ประกาศไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดือ" ว่ายาก
๕. กัมมลักขณะ อปโลกน์แจกอาหารในโรงฉันเป็นต้น ฯ
๓.๒ สงฆ์ผู้ทำสังฆกรรม มีกำหนดจำนวนไว้ดังนี "
จตุวรรค สงฆ์มีจำนวน ๔ รูป
ปัญจวรรค สงฆ์มีจำนวน ๕ รูป
ทสวรรค สงฆ์มีจำนวน ๑๐ รูป
วีสติวรรค สงฆ์มีจำนวน ๒๐ รูป
๔. ๔.๑ กรรมวิบัติ คือ สังฆกรรมท2ีทำไม่ถูกระเบียบตามพระพุทธบัญญัติ ทำให้สังฆกรรมนัน"
เสียไป ทำแล้วไม่เป็นอันทำ
๔.๒ วิบัติท2ีพึงหลีกนัน" มี ๔ อย่างคือ
๑. วิบัติโดยวัตถุ เช่นให้อุปสมบทแก่ผู้มีอายุหย่อน ๒๐ หรืออภัพพบุคคล
๒. วิบัติโดยสีมา เช่นการทำสังฆกรรมในสีมาวิบัติ
๓. วิบัติโดยปริสะ เช่นภิกษุเข้าประชุมสงฆ์หย่อนกว่าจำนวนที2กำหนด เช่น ๓ รูป
สวดปาฏิโมกข์ และสมมติสีมา ๔ รูป ปวารณา เป็นต้น
๔. วิบัติโดยกรรมวาจา เช่น การสวดกรรมวาจาวิบัติโดยญัตติ หรือโดยอนุสาวนา
หรือวิบัติทัง" สอง ฯ
๕. ๕.๑ มีกำหนดไว้ คือกำหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ ๒๑ รูปนั2งไม่ได้ และไม่ให้
สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า ๓ โยชน์ สีมาเล็กเกินไปใหญ่เกินไป เป็นสีมาวิบัติ ใช้ไม่ได้ ฯ
๕.๒ ไม่มี เพราะในป่ าท2ีไม่มีบ้าน ก็จัดเป็ นสัตตัพภันตรสีมา ในน่านนำ" ท2ีได้ขนาด ก็จัดเป็น
อุทกุกเขปสีมา ผืนแผ่นดินท2ีมีหมู่บ้านก็จัดเป็นคามสีมา แม้สีมันตริกซง2ึ คัน" ระหว่างมหา
สีมากับขัณฑสีมาก็จัดเป็นคามสีมา ฯ
๖. ๖.๑ สีมามี ๒ ประเภท คือ
๑. พัทธสีมา แดนที2ผูกแล้ว ๒. อพัทธสีมา แดนที2ยังไม่ผูก ฯ
ในสีมาทัง" สองนี " พัทธสีมาแบ่งออกเป็น ๔ คือ
๑. สีมาชัน" เดียว ๒. มหาสีมา
๓. ขัณฑสีมา ๔. นทีปารสีมา
ส่วนอพัทธสีมาแบ่งออกเป็น ๔ เช่นกัน คือ
๑. คามสีมาหรือนิคมสีมา ๒. อุทกุกเขปสีมา
๓. สัตตัพภันตรสีมา ๔. วิสุงคามสีมา ฯ
๖.๒ นิมิตนัน" ระบุไว้ในบาลี ๘ ชนิด ภูเขา, ศิลา, ป่ าไม้, จอมปลวก, หนทาง, แม่นำ" , นำ" ฯ
๗. ๗.๑ การผูกพัทธสีมา มีวิธีปฏิบัติดังนี "
๑. พืน" ท2ีอันจะสมมติเป็นสีมาต้องได้รับอนุญาตจากบ้านเมืองก่อน
๒. ต้องประชุมภิกษุผู้อยู่ในเขตสีมา หรือนำฉันทะของเธอมา
๓. สวดถอน ๔. เตรียมนิมิตไว้ตามทิศ
๕. เม2ือสมมติสีมา ต้องประชุมภิกษุผู้อยู่ภายในนิมิต
๖. ทักนิมิต ๗. สวดสมมติสีมา ฯ
๗.๒ สีมาสังกระด้วยเหตุ ๔ คือ
๑. สมมติสีมาคาบเกี2ยวกัน
๒. วัตถุพาดพึงถึงกันในระหว่างสีมาทัง" สอง
๓. สังฆ์ ๒ หมู่จะทำสังฆกรรมเวลาเดียวกัน ไม่เว้นระหว่างแนวสงฆ์ให้ห่างกันพอได้ตาม
กำหนด
๔. ทำสังฆกรรมในเรือหรือแพที2ผูกกับหลักปักไว้บนตลิ2ง หรือทำในที2ไม่ได้กำหนดตาม
อุทกุกเขป ฯ
๘. ๘.๑ ขัณฑสีมา คือ สีมาที2ผูกเฉพาะโรงอุโบสถ มหาสีมา เป็นสีมาที2ผูกไว้รอบวัด
๘.๒ คามสีมา และวิสุงคามสีมา ต่างกันอย่างนีค" ือ
๑. คามสีมา ได้แก่เขตหมู่บ้านท2ีทางราชอาณาจักรกำหนดไว้แต่เดิม หมายถึงแด่นท2ีนาย
บ้านเก็บส่วย ปัจจุบันหมายถึงแดนท2ีผู้ใหญ่ปกครอง ซง2ึ พระสงฆ์เข้าอยู่อาศัยและถือ
เป็นแดนสามัคคี กล่าวคือแดนสมานสังวาส
๒. วิสุงคามสีมา ได้แก่เขตบานนน2ั เองท2ีทางราชการกำหนดเอกเทศหนง2ึ ว่า เอกเทศนีจ" ง
เป็นบ้านต่าง หรือจงเป็นแผนกหนึ2งจากบ้านในปัจจุบันได้แก่ แดนที2ได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา ฯ
๙. ๙.๑ ต้องมีคุณสมบัติ ๕ ประการ ได้แก่ปราศจากอคติ ๔ คือ
๑. ฉันทาคติ ลำเอียงเพราะรักใคร่
๒. โทสาคติ ลำเอียงเพราะเกลียดชัง
๓. ภยาคติ ลำเอียงเพราะกลัว
๔. โมหาคติ ลำเอียงเพราะหลงงมงาย
๕. เข้าใจในการปฏิบัติหน้าท2ีนัน" ๆ เป็ นอย่างดี
๙.๒ มี ๕ แผนก คือ เจ้าอธิการแห่งจีวร ๑ เจ้าอธิการแห่งอาหาร ๑ เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ ๑
เจ้าอธิการแห่งอาราม ๑ และเจ้าอธิการแห่งคลัง ๑
๑๐. ๑๐.๑ ภัตรมีนิยมต่าง มี ๔ คือ
๑. อาคันตุกภัตร อาหารที2เขาถวายเฉพาะภิกษุอาคันตุกะ
๒. คมิยภัตร อาหารท2ีเขาถวายเฉพาะภิกษุผู้จะไปท2ีอ2ืน
๓. คิลานภัตร อาหารที2เขาถวายเฉพาะภิกษุอาพาธ
๔. คิลานุปัฏฐากภัตร อาหารท2ีเขาถวายเฉพาะภิกษุผู้พยาบาลภิกษุไข้
(และกุฏิภัตร อาหารท2ีเขาถวายเฉพาะภิกษุผู้อยู่ในกุฏิท2ีเขาสร้างถวาย อันท่านกล่าวไว้
ในอรรถกถา ) ฯ
๑๐.๒ เป็นหน้าท2ีของเจ้าของเจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ พึงปฏิบัติอย่างนี " คือ เจ้าอธิการแห่ง
เสนาสนะพึงกำหนดฐานะของภิกษุผู้ถือเสนาสนะว่า เป็ นผู้ใหญ่หรือผู้น้อย เป็นผู้มีอุปการะ
แก่สงฆ์หรือหามิได้ เป็นผู้เล่าเรียนหรือประกอบกิจในทางใดบ้างเป็นต้นแล้วหรือหามิได้
เป็นผู้เล่าเรียนหรือประกอบกิจในทางใดบ้างเป็นต้น แล้วพึงให้ถือเสนาสนะ ฯ

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘