ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั้นเอก กัณฑ์ที่ ๒๙–๓๐ อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๙–๓๐
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ วุฏฐานวิธี แปลว่าอะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๑.๒ ในการทำวุฏฐานวิธีแต่ละอย่างนัน$ ต้องการสงฆ์จำนวนเท่าไร ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ ปฏิจฉันนาบัติ และอันตราบัติ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๔๓
๒.๒ สัมมุขาวินัย มีองค์เท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๓. ๓.๑ มูลแห่งอนุวาทมีเท่าไร บอกมาให้ครบ ? ๒๕๔๑
๓.๒ ผู้วินิจฉัยอนุวาทมีเท่าไร บอกมาให้ครบ ? ๒๕๔๑
๔. ๔.๑ มานัต มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๔๐
๔.๒ อัพภาน มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๔๐
๕. ๕.๑ อาปัตตาธิกรณ์คืออะไร มีกี7ประเภท อะไรบ้าง ? ๒๕๓๙
๕.๒ สังฆราชี กับ สังฆเภท ต่างกันอย่างไร ? ๒๕๓๙
๖. ๖.๑ กัมมารหะ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
๖.๒ กัมมปัตตะ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
๗. ๗.๑ ความเห็นอย่างไรเรียกว่าทิฏฐาวิกัมม์ ? ๒๕๓๕
๗.๒ วุฏฐานวิธีนัน$ ต้องปรารถนาสงฆ์เท่าไรเป็นอย่างน้อย ? ๒๕๓๕
๘. ๘.๑ ภิกษุประพฤติอย่างไรเป็นเหตุให้เสียสีลสามัญญตา ? ๒๕๓๕
๘.๒ วิวาทาธิกรณ์ กับ อนุวาทาธิกรณ์ ต่างกันอย่างไร ? ๒๕๓๖
๙. ๙.๑ อัปปฏิจฉันนาบัติ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
๗.๒ ติณวัตถารกวินัย มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
๑๐. ๑๐.๑ ลหุกาบัติ ได้แก่อาบัติเช่นไร ? ๒๕๓๗
๑๐.๒ ภิกษุผู้ทำหน้าท7ีพิจารณาคดี มีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง ? ๒๕๓๗
----------------------------------------------
.
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๙–๓๐
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*******************************
๑. ๑.๑ วุฏฐานวิธี แปลว่าระเบียบเป็นเครื7องออกจากอาบัติ ประกอบด้วย
ปริวาส มานัต ปฏิกัสสนา และอัพภาน
๑.๒ การให้ปริวาส มานัติ และทำปฏิกัสสนา ต้องการสงฆ์จตุวรรค การให้
อัพภาน ต้องการสงฆ์สติวรรค
๒. ๒.๑ ปฏิจฉันนาบัติ หมายถึง อาบัติที7ภิกษุต้องแล้วปกปิดไว้
อันตราบัติ หมายถึง อาบัติสังฆาทิเสสที7ภิกษุต้องเข้าอีกระหว่าง
ประพฤติวุฏฐานวิธี
๒.๒ สัมมุขาวินัย มีองค์ ๔ คือ
๑. ในที7พร้อมหน้าสงฆ์ ๒. ในที7พร้อมหน้าธรรม
๓. ในที7พร้อมหน้าวินัย ๔. ในที7พร้อมหน้าบุคคล
๓. ๓.๑ มูลแห่งอนุวาทมี ๓ คือ
๑. เรื7องที7ได้เห็นเอง
๒. เร7ืองท7ีได้ยินเองหรือมีผู้มาบอก และเช7ือว่าเป็นจริง
๓. เรื7องที7รังเกียจโดยอาการ
๓.๒ ผู้วินิจฉัยอนุวาทมี ๓ คือ
๑. สงฆ์ (สำหรับเรื7องสำคัญ
๒. คณะ (สำหรับเรื7องไม่สำคัญนัก)
๓. บุคคล (สำหรับเรื7องเล็กน้อย)
๔. ๔.๑ มานัติ แปลว่านับราตรี เป็นช7ือของวัตรท7ีภิกษุผู้ต้องสังฆาทิเสสจะพึง
ประพฤติเพ7ือออกจากอาบัตินัน$
๔.๒ อัพภาน แปลว่า เรียกเข้าหมู่ เป็นช7ือของกรรมท7ีสงฆ์จะพึงทำแก่ภิกษุผู้
ประพฤติครบกำหนดแล้ว
๕. ๕.๑ อาปัตตาธิกรณ์ คือ อาบัติทัง$ หลายอันพระภิกษุต้องแล้วจำจะต้องทำคืน
คือจำจะต้องปลดเปลือ$ งเสีย มี ๒ ประเภท คือ ๑. ลหุกาบัติ ได้แก่
อาบัติเบา ๒. ครุกาบัติ ได้แก่อาบัติหนัก
๕.๒ สังฆราชี คือเพียงแต่ทะเลาะวิวาทกัน แต่ยังไม่แยกกัน ทำอุโบสถ
ปวารณาและทำสังฆกรรมต่างๆ คือยังรวมกันได้อยู่
สังฆเภท หมายถึง สงฆ์แยกกันทำอุโบสถทำปวารณา และสังฆกรรม
ต่างๆแล้ว
๖. ๖.๑ กัมมารหะ ได้แก่บุคคลผู้ถูกทำกรรม เช่นภิกษุผู้ถูกสมมติเป็นเจ้าหน้าท7ี
ทำการสงฆ์ เป็นต้น
๖.๒ กัมมปัตตะ ได้แก่ภิกษุผู้เข้าในจำนวนสงฆ์ผู้ทำกรรมทุกประการ
๗. ๗.๑ ความเห็นแย้ง คือไม่เห็นร่วมด้วยคำวินิจฉัยอันสงฆ์รับรอง เรียกว่า
ทิฏฐาวิกัมม์ แปลว่าทำความเห็นให้แย้ง
๗.๒ อัพภาน ต้องปราถนาสงฆ์อย่างน้อยไม่ตํ7ากว่า ๒๐ รูป กิจอื7นนอกจาก
อัพภานเพียง ๔ รูปเป็นอย่างน้อย
๘. ๘.๑ ภิกษุต้องอาบัติแล้วไม่ยอมรับว่าต้อง หรือไม่ยอมทำคืน ย่อมเป็นเหตุ
ให้เสียสีลสามัญญตา
๘.๒ วิวาทอันเกิดขึน$ เพราะปรารภพระธรรมวินัย จัดเป็ นวิวาทาธิกรณ์ ส่วน
การโจทย์กันด้วยอาบัติ จัดเป็นอนุวาทาธิกรณ์
๙. ๙.๑ อัปปฏิจฉันนาบัติ ได้แก่ อาบัติสังฆาทิเสสที7ภิกษุต้องเข้าแล้วแต่มิได้ปิดบังเอาไว้
๙.๒ ติณวัตถารกวินัย ได้แก่การไม่สะสางถึงความหลังว่า ใครเป็นผู้ทำผิด
อะไร ยกเลิกเรื7องราวกันไปดุจกลบสิ7งของไว้ด้วยหญ้า
๑๐. ๑๐.๑ ลหุกาบัติ ได้แก่อาบัติเล็กน้อย ท7ีผู้ต้องจะระงับได้ในสำนักบุคคล
๑๐.๒ ภิกษุผู้ควรทำหน้าท7ีพิจารณาคดี มีคุณสมบัติดังนี $
๑. เป็นผู้มีศีล เป็นพหูสูต ทรงพระปาฏิโมกข์ สามารถแจงให้คู่ความ
เข้าใจ และเลื7อมใสได้
๒. เป็นผู้มีกายสมาจาร วจีสมาจารบริสุทธ์ มีอาชีวบริสุทธิI เป็นบัณฑิต
ฉลาดเฉลียวสามารถชีแ$ จงข้อความท7ีถูกซักถามได้
๓. รู้วัตถุ รู้นิทาน รู้พระบัญญัติ รู้บทท7ีตกภายหลัง รู้คลองแห่งถ้อยคำที
เชื7อมต่อกันได้
๔. รู้พระธรรมวินัย และอนุโลม ฉลาดในฐานะ อฐานะ ฉลาดในอรรถะ
และพยัญชนะ ฉลาดในวินิจฉัย

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

I miss you all กับ I miss all of you ต่างกันอย่างไร

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒

ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘